Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มเอเชียตะวันออก ประเทศจีน - Coggle Diagram
กลุ่มเอเชียตะวันออก
ประเทศจีน
วัฒนธรรมท้องถิ่น
ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับว่าเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดของทวีปเอเชีย
พรมแดนติดต่อประเทศต่าง โดยรอบ 15 ประเทศ
มีเส้นพรมแดนทางบกยาวกว่า 2 หมื่นกิโลเมตร
มีชนชาติต่างๆอยู่รวมกัน 56ชนชาติ โดยเป็นชาวฮั่น ร้อยละ 93.3 ที่เหลือเป็นชนกลุ่มน้อยอื่นๆที่สำคัญ ได้แก่ ชนเผ่าจ้วง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตปกครองตนเองกวางสีและมณฑลยูนนาน
ประเพณีจีน
เป็นเทศกาลที่ถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยอดีตมาจนถึงปัจจุบัน ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อ อันเป็นจุดกำเนิดของชาวจีน
อาหารจีน
นิยมรับประทานอาหารจานผักและธัญพืชเป็นหลัก
นอกจากในราชสำนักที่จะมีอาหารประเภทเนื้อเป็นหลัก อุปกรณ์การกินหลัก คือตะเกียบ มีอาหารจีน 2 ตระกูลใหญ่ คืออาหารเมืองเหนือ และเมืองใต้
ตระกูลใหญ่อาหารจีน
อาหารซันตง
อาหารเจียงซู
อาหารกวางตุ้ง
อาหารเสฉวน
อาหารอันฮุย
อาหารหูหนัน
อาหารเจ้อเจียง
อาหารฮกเกี้ยน
อาหารบ่งชี้ชนชั้น
นอกจากอาหารจะสะท้อนความเชื่อ ความหมายอันแฝงไว้ซึ่งความเป็นมงคล มันจึงยังเป็นการแสดงสถานะทางสังคมรูปแบบหนึ่งในวัฒนธรรมจีน อาหารจึงเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจและสถานะทางสังคม แสดงถึงตัวตนของผู้กิน
การแพทย์และยาแผนจีน
การรักษาภายในด้วยการรับประทานยาและการรักษาภายนอกด้วยยาทา นอกจากนี้ยังมีวิธีการรักษาโดยไม่ใช้ยาแบบอื่น เช่น การฝังเข็ม
การรักษาด้วยวิธีการฝังเข็มมีจุดเด่นหลายประการได้แก่วิธีการรักษาเรียบง่าย เห็นผลเร็วประหยัดปลอดภัย ศาสตร์ทางการแพทย์แขนงนี้จึงเป็นที่แพร่หลายและสืบทอดต่อกันมาตลอดระยะเวลา2,000 ปี
ทฤษฎีธาตุห้าวัฒนธรรมจีน
ชาวจีนเชื่อว่าอาหารที่ดี ไม่ได้ทำหน้าที่แค่ให้ท้องอิ่มหรือรสชาติดีเป็นสำคัญแต่ ต้องทำหน้าที่เป็นยา การปรุงอาหารจึงต้องรู้หลักความสมดุลหยิน-หยาง และให้ความสำคัญกับธาตุทั้ง 5 จากความเชื่อที่ว่า ‘ฟ้า ดิน และมนุษย์เป็นหนึ่งเดียวกัน’ คือธาตุที่ประกอบด้วยไม้ ไฟ ดิน โลหะ และน้ำ อันหมายถึงลมปราณทั้ง 5 ที่ต้องสอดประสานไปกับธรรมชาติ
การกินจึงต้องคำนึงถึงฤดูกาล สภาพแวดล้อม อากาศ และอาหารที่ให้ฤทธิ์ร้อน-เย็น รวมทั้งรสชาติที่ส่งผลต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกายและอาหารทำหน้าที่เป็นยาป้องกันและรักษา อันมาจากความเชี่อที่ว่านอกเหนือจากเชื้อโรคและปัจจัยภายนอก ความเจ็บป่วยจึงเป็นเรื่องของสมดุลธาตุในร่างกายเป็นหลัก
ความเชื่อเกี่ยวกับวัฒนธรรมอาหารจีน
คนจีนมีความเชื่อที่ว่า ‘ดินน้ำถิ่นใด ก็เพื่อเลี้ยงผู้คนถิ่นนั้นกลายเป็นรากของอาหารกวางตุ้งที่ขึ้นชื่อเรื่องความหลากหลายของวัตถุดิบ
ทฤษฏีหยิน – หยาง
ร่างกายมนุษย์จำเป็นต้องดำรงหยิน-หยางให้คงไว้ในสภาวะสมดุล
โรคหยาง เป็นโรคชนิดเฉียบพลัน
โรคหยิน เป็นโรคชนิดเรื้อรัง
รสทั้งห้าของอาหาร
รสหวาน (รวมรสจืด) เป็นอาหารจำพวกหยาง ช่วยปรับโจงชี่ให้สมดุล มักใช้บำบัดม้าม
และกระเพาะอ่อนแอ อาหารไม่ย่อย สตรีร่างกายอ่อนแอหลังคลอด ปวดตามกระดูกและเอว
สเปรี้ยว (รวมรสฝาด) เป็นอาหารจำพวกหยิน ช่วยหยุดการหลั่งของเหลวและเพิ่มน้ำในร่างกาย
มักใช้บำบัดอาการเหงื่อออกผิดปกติขณะหลับ ปัสสาวะบ่อย ม้ามพร่อง สตรีตกขาว ร้อนใน
รสขม เป็นอาหารจำพวกหยิน ช่วยขับร้อน สลายชื้น ปรับสภาวะพลังย้อนกลับ มักใช้บำบัดอาการ
หวัดแดด เป็นไข้ ตามัว ดีซ่าน
รสเค็ม เป็นอาหารจำพวกหยิน ช่วยระบาย และขับของเหลวในร่างกาย บำรุงไต และเลือด
มักใช้บำบัดอาการท้องผูก ฝี ตัวบวม ไตพร่อง ขาดเลือด
รสเผ็ด เป็นอาหารจำพวกหยาง ช่วยระบาย ช่วยให้พลังเดิน ทำให้โลหิตไหลเวียน
แก้ไข้ปวดกระเพาะ ปวดรอบเดือน
การกินตาม
หยิน– หยาง
ในการกินอาหารจึงต้องสังเกตว่าสภาพ
ร่างกายของตัวเองร้อนหรือเย็น
เช่น ถ้าตัวร้อนจะกินของเย็น คืออาหารที่เป็นหยิน แต่ถ้าร่างกายเย็นให้กินของร้อน คืออาหารที่เป็นหยาง เพื่อปรับสมดุล
อาการที่พบบ่อยเมื่อหยิน-หยางไม่สมดุล
หยินพร่อง
สารที่เป็นน้ำในร่างกายน้อยทำให้มีอาการคล้ายคนขาดน้ำ คือ ร้อนใน
ปากแห้ง คอแห้งโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ ขี้หงุดหงิด ผิวแห้งเหี่ยวฝ่ามือและฝ่าเท้าร้อน อาการคล้ายคนวัยทอง
หยางพร่อง
เกิดจากความอบอุ่นหรือไฟในร่างกายน้อยลง ข้างในจึงเย็น มีอาการฝ่ามือ – ฝ่าเท้าเย็นหนาวง่าย ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน หน้าตาซีดเซียว
หยางเกิน
กิดจากหยางพุ่งขึ้นข้างบน ทำให้เลือดพุ่งขึ้นข้างบนทำให้มีอาการหน้าแดง ตาแดง
โมโหง่าย ความดันโลหิตสูง
อาหารประจำธาตุ
อาหารประจำธาตุดิน
อาหารที่มีสีเหลือง เช่นถั่วเหลือง ข้าวฟ่าง ลูกเดือย
อาหารประจำธาตุไฟ
อาหารที่มีสีแดง เช่น ทับทิมเรดเบอร์รี่ สตรอว์เบอร์รี่
อาหารประจำธาตุน้ำ
อาหารที่มีสีดำ เช่น งาดำถั่วดำ เห็ดหลินจือ เห็ดหอม แบล็กเบอร์รี่ ตลอดจนอาหารรสเค็ม
อาหารประจำธาตุไม้
อาหารที่มีสีเขียวเหลือง ตามสีของน้ำดีจากตับ ตลอดจนอาหารรสเปรี้ยว อาหารกลุ่มนี้ช่วยบำรุงตับ
อาหารประจำธาตุโลหะ
อาหารที่มีสีขาว เช่นหัวไช้เท้า ผักกาดขาว ตลอดจนอาหารรสเผ็ด ควรกินอาหารกลุ่มนี้ช่วงฤดูหนาวเนื่องจากช่วยบำรุงปอด
ธาตุทั้งห้าจะมีความสัมพันธ์ต่อกันใน 2 ลักษณะ
การสร้าง
การหนุนเนื่องให้มีการเกิดและการพัฒนา ธาตุที่เป็นตัวสร้างถือเป็น ธาตุ”แม่” ส่วนธาตุที่ถูกสร้างถือว่าเป็นธาตุ “ลูก”
การข่ม
การคุม หรือกดกันไว้
ทฤษฎีการพยาบาล
ข้ามวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
มีความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้
มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ
มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity)
มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร
สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม
มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคม
บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการ
พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได้
ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม
สามารถรักษาความลับของข้อมูล
การพยาบาลที่ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วม 3 ลักษณะ
การสงวนและดำรงไว้ซึ่งการดูแลด้านวัฒนธรรมหรือการคงไว้ซึ่งการดูแลตามวัฒนธรรมที่เป็นอยู่ (Cultural care preservation)
การจัดหาและการต่อรองเพื่อการดูแลด้านวัฒนธรรมหรือการปรับการดูแลในวัฒนธรรมที่เป็นอยู่ (Cultural care accommodation)
การวางรูปแบบและโครงสร้างใหม่เพื่อการดูแลด้านวัฒนธรรมหรือการเปลี่ยนรูปแบบการดูแลในวัฒนธรรมที่เป็นอยู่ (Cultural care Repatterning)
การประเมินผลทางการพยาบาล
ระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ผู้ป่วยสามารถรับประทานอาหารที่มีรสชาติหยาง (รสจืด)
สามารถลดการรับประทานอาหารรสเค็มอาหารที่ทำจากนกพิราบ
และบอกให้สามีเปลี่ยนจากเมนูนกพิราบตุ๋นยาจีนเป็นเมนูอื่น
สามารถลดการรับประทานอาหารรสเค็มอาหารที่ทำจากนกพิราบ
และบอกให้สามีเปลี่ยนจากเมนูนกพิราบตุ๋นยาจีนเป็นเมนูอื่น
ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคของตนเอง