Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.วิชาชีพพยาบาลและผดุงครรภ์ 2528 แก้ไข 254 - Coggle Diagram
พรบ.วิชาชีพพยาบาลและผดุงครรภ์ 2528
แก้ไข 254
หมวด
หมวดที่ 1 สภาการพยาบาล
มาตรา 6 ให้มีสภาการพยาบาล มีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
มาตรา 7 สภาการพยาบาลมีวตัถุประสงค์ดังนี้
ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลให้ถูกต้องตามจริยธรร
-.ส่งเสริมการศึกษา การบริการ การวิจัย และความก้าวหน้าในวิชาชีพการพยาบาล
-ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
-ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ และใหก้ารศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอื่นในเรื่องที่เกี่ยวกับ การพยาบาล การผดุงครรภ์ และการสาธารณสุข
(๑) ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์ให้ถูกตอ้งตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๒) ส่งเสริมการศึกษา การบริการ
(๑)การวิจยั และความกา้วหนา้ในวิชาชีพการพยาบาล การ
ผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๓) ส่งเสริมความสามคัคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
(๔) ช่วยเหลือ แนะนา เผยแพร่ และใหก้ารศึกษาแก่ประชาชนและองคก์รอื่นในเรื่องที่เกี่ยวกบั
การพยาบาล การผดุงครรภ์ และการสาธารณสุข
(๕) ให้คา ปรึกษา หรือขอ้ เสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกบั ปัญหาการพยาบาล การผดุงครรภ์และ
การสาธารณสุข
(๖) เป็ นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ในประเทศไทย
(๗)ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวสั ดิการให้แก่สมาชิก
มาตราที่ 8 สภาการพยาบามีอำนาจ ดังต่อไปนี้
รับขึ้นนทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในระดับอุดมศึกษา
รับรองหลักสูตรต่างๆ สำหรับการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรของสถาบัน
รับรองหลักสูตรต่างๆ สำหรับการฝึกอบรมในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ของสถาบัน
มาตราที่ 9 สภาการพยาบาลอาจมีรายได้ดังนี้
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
-ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ
-ผลประโยชน์จากกิจกรรมอื่นของสภาการพยาบาล
มาตราที่ 10 ให้รัฐมนตรีดำรงตำแหน่งสภานายกพิเศษแห่งสภาการพยาบาล
หมวดที่ 2 สมาชิก
มาตราที่ 11 สภาการพยาบาลประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภท
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งสภาการพยาบาลเชิญใหเ้ป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตราที่ 12 สิทธิและหนา้ที่ของสมาชิกสามัญ
ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์
แสดงความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของสภาการพยาบาลส่งไปยังคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
มาตราที่ 13 สมาชิกภาพของสมาชิกสามัญ สิ้นสุดลงเมื่อ
ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ
หมวด
หมวดที่ 3 กรรมการ
มาตรา 14 ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล
ผู้แทนจากกระทรวง ที่กำหนด และมีจำนวนเท่าที่กำหนด
มาตรา 15 กรรมการที่ปรึกษา
จำนวนกรรมการที่ปรึกษาต้องไม่เกินหนึ่งในสี่ของคณะกรรมการ
มาตราที่ 16
ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการเพื่อดำรงตำ แหน่งนายกสภาการพยาบาล อุปนายก
สภาการพยาบาลคนที่หนึ่ง และอุปนายกสภาการพยาบาลคนที่สอง ตำแหน่งละหนึ่งคน
มาตราที่ 17 แนวทางการจัดการเลือกตั้ง
มาตราที่ 18กรรมการนอกจากปลัดกระทรวงสาธารณสุขและกรรมการที่ปรึกษาต้องมีคุณสมบัติ
-เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
-ไม่ใช่บุคคลล้มละลาย
-ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา 19
ให้กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งและรับเลือกตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปีแต่ไม่เกิน 2 ครั้งติด
มาตรา 20
กรรมการพ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ
มาตรา 21
กรณีตำแหน่งกรรมการซึ่งได้รับเลือกตั้งว่างลงเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการ ให้สมาชิกสามัญ เลือกตั้งกรรมการขึ้นแทนภายใน90 วัน นับตั้งแต่วันที่ตำแหน่งว่าง
มาตรา 22 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
บริหารกิจการสภาการพยาบาลให้เป็นไปตามวตัถุประสงค์
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจริยธรรม คณะอนุกรรมการสอบสวนและคณะอนุกรรมการอื่น
-ออกข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา 23 อำนาจนายกสภาและอุปนายก
หมวด 4 การดำเนินกิจกรรมของกรรมการ
มาตรา 24 การประชุมของกรรมการ
การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด มติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก
มาตรา 25 การเข้าประชุมของสภานายกพิเศษ
สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุมชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการ หรือจะส่งความเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมการในเรื่องใดๆ ก็ได้
มาตรา 26 มติของที่ประชุม
มติของที่ประชุมคณะกรรมการในเรื่องต่อไปนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษก่อน จึงจะดำเนินการตามมตินั้นได้
หมวด 5 การควบคุมการประกอบวิชาชีพพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา 27
ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลกระทำการพยาบาล
หรือการผดุงครรภ์ หรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพ
ดังกล่าว
มาตรา 28
การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การออกหนังสือ
อนุมัติหรือวุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญเฉพาะทาง ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา 29การขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แบ่งเป็น3ประเภท
ผู้ประกอบวชิาชีพ
การผดุงครรภ์
ผู้ประกอบวิชาชีพ
การพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา 30
ผู้มีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามมาตรา 29
มาตรา 31-45
เกี่ยวกับผู้มิสิทธิของการพยาบาล
ทั้งการขึ้นทะเบียนหรทอการร้องเรียนทางการพยาบาล ต่างๆ
มาตรา 45 ทวิ อำนาจของพนักงาน เจ้าหน้าที่
มาตรา 45 ตรี การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที
มาตรา 45 จัตวา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นพนักงานตาม พรบ.
มาตรา 45 เบญ การอำนวยความสะดวกให้พนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด 6 บทกำหนดโทษ
มาตรา 46
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 27 หรือมาตรา 43 ต้องระวางโทษ
จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ
ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 47
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 31 วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา 48
ผู้ใดไม่มาใหถ้อยคำ หรือไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใดๆ ตามที่เรียกหรือแจ้งให้ส่งตาม
มาตรา38 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน1เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 48 ทวิ
ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนกังานเจ้าหน้าที่ตามความในมาตรา 45 เบญจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา 49
ผู้ใดได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันในสาขา
การพยาบาล สาขาการผดุงครรภ์หรือสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามกฎหมายให้ถือว่าผูนั้น
เป็นสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลตามพระราชบัญญัติ
มาตรา 50
ผู้ใดได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันและใบอนุญาตนั้นยังคงใช้ได้ในวันที่พระราชบัญญัติ นี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ให้ถือวา่ ผู้นั้นได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพในประเภทและชั้นแล้วแต่กรณี
มาตรา 51
การเลือกตั้งสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลเป็นกรรมการให้กระทำให้แล้วเสร็จภายใน 180 วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บ้งคับ
มาตรา 52
ระเบียบหรือประกาศที่ออกตามกฎหมายว่า ด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ
ในส่วนที่เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 1 ปี
นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ