Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ.ร.บ. วิชาชีพยาบาลและผดุงครรภ์ 2528 แก้ไข 2540 - Coggle Diagram
พ.ร.บ. วิชาชีพยาบาลและผดุงครรภ์ 2528 แก้ไข 2540
หมวด 1 สภาการพยาบาล
มาตรา 6
ให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
มาตรา 7
วัตถุประสงค์
ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ ความรู้
ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติ
ให้คำปรึกษา เสนอแนะต่อรัฐบาล
ส่งเสริมการศึกษา
เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพ
ควบคุมความประพฤติ
ผดุงความเป็นธรรม
มาตรา 8
8.ออกหนังสืออนุมัติ
7.รับรองปริญญา
9.ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภา
ึ6.รับรองวิทยฐานะของสถาบัน
5.รับรองหลักสูตรต่างๆสำหรับการฝึกอบรม
4.รับรองหลักสูตรในระดับประกาศนียบัตรของสถาบัน
3.ให้ความเห็นชอบหลักสูตร
2.สั่งพักใช้หรือเผิกถอนใบอนุญาต
1.รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต
อำนาจหน้าที่ของสภาการพยาบาล
มาตรา 9
รายได้จาก
3.ผลประโยชน์จากกิจกรรม
4.เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้ให้จากสภาการพยาบาล
2.ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุงและค่าธรรมเนียม
5.ดอกผลของเงิน
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
มาตรา 10
ให้รัฐมนตรีดำรงตำแหน่งสภานายกพิเศษแห่งสภาการพยาบาลมีอำนาจหน้าที่
หมวด 2 สมาชิก
มาตรา 11
สมาชิกสามัญ 2 ประเภท
สมาชิกสามัญ
ไม่เป็นผู้ประพฤติเสียหาย
ไม่เคยต้องโทษจำคุก
มีความรู้ในวิชาชีพ
ไม่เป็นผู้มีจิตฟั่นเฟือน
อายุไม่ต่ำกว่าสิบแปด
สิ้นสุดลงเมื่อ ตาย หรือ ลาออก
สมาชิกกิตติมศักดิ์
ผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา 12
แสดงความเห็นเป็นหนังสือส่งไปยังคณะกรรมกาารเพื่อพิจารณา
เลือกตั้ง รับเลือกตั้ง
ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต
ผดุงเกียรติ
สิทธิในสมาชิกสามัญ
หมวด 3 คณะกรรมการ
มาตรา 14 ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล
มาตรา 15 ให้กรรมการดำรงตำแหน่งตามวาระที่แต่งตั้ง
มาตรา 17 เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา 16
ให้นายกสภามีคุณสมบัติตามาตรา 18
ให้นายกสภามีอำนาจถอดถอนเลขาธิการก่อนครบวาระได้ ขึ้นอยู่กับความเห็นชอบของคณะกรรมการ
กรรมการมีโอกาสจะพ้นตำแหน่งก่อนครบวาระได้ โดยอนุมัติจากคณะกรรมการ
มาตรา 18 คุณสมบัติ ต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ไม่เคยถูกสั่งพักงาน
มาตรา 19 มีวาระตำแหน่งคราวละ 4 ปี จะต้องไม่ดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติด
มาตรา 20 การพ้นตำแหน่ง ขาดคุณสมบัติกับลาออก
มาตรา 21 คณะกรรมการไม่ควรวางลงครึ่งหนึ่ง ถ้าถึง ให้เลือกสมาชิกสามัยแทนภายใน 90 สิบวัน
มาตรา 22 อำนาจหน้าที่คระกรรมการ
ออกข้อบังคับสภา
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
บริหารกิจการสภาการพยาบาล
มาตรา 23
หน้าที่นายกสภา
ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
เป็นผู้แทนเป็นประธานประชุม
หมวด 4
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการ
มติปรระชุมให้ถือเสียงข้างมาก
ในการประชุมให้สมาชิกสามัยพ้นสภาพต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน3
มาตรา 24 การประชุมต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่ง
มาตรา 25 สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการชี้แจงประชุม
มาตรา 26
กำหนดงบประมาณ
ให้สมาชิกพ้นสามัญพ้นสภาพสมาชิก
การออกข้อบังคับ
การวินิจฉัยชี้ขาด
หมวด 5 การควบคุมการประกอบวิชาชีพพยาบาล
มาตรา 27
ห้ามไม่ให้ผู้ใดที่ไม่ได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล โดยไม่ได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต
ข้อยกเว้น
กระทำต่อตนเอง
นักเรียน นักศึกษา ที่อยู่ในความควบคุมของสถาบันการศึกษา
ช่วยเหลือเยียวยาตามหน้าที่โดยไม่ใช่เป็นการฉีดยาหรือสารต่างๆ
มาตรา 28
การขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต
พยาบาลและการผดุงครรภ์
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ผุ้ประกอบวิชาชีพพยาบาล
*
ใบอนุญาตทุกประเภทให้มีอายุ 5 ปี นับตั้งแต่วันที่ออกใบอนุญาต
มาตรา 30
ชั้น1 ต้องได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญาในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์ จากสถาบันที่คณะกรรมการรับรองทั้งในและต่างประเทศและสอบความรู้แล้ว
ชั้นสอง ได้รับประกาศนียบัตรในสาขาการพยาบาล และผดุงครรภ์ ระดับต้น จากการศึกษาในประเทศไทยที่คณะกรรมการรับรองและสอบความรู้แล้ว
แต่ถ้าเป็นผู้มีสัญชาติไทยไม่ต้องเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพในประเทศที่ผู้นั้นได้รับประกาศนียบัตรก็ได้
มาตรา 31 คุณสมบัติเป็นสมาชิกแห่งสภาการพยาบาล
ผู้ใดขาดจากสมาชิกภาพให้ใบอนุญาตชองผู้นั้นสิ้นสุดลง
ส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายในห้าสิบวันแต่วันที่ทราบการขาดจากสมาชิกสภาพ
มาตรา 32 ต้องรักษาจริยธรรมตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา 33 กรรมการมีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล ว่าประพฤติผิดจริยธรรม โดยยื่นเรื่องต่อสภาการพยาบาล
การกล่าวโทษเมื่อพ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายกล่าวโทษรู้ตัวผู้ประพฤติผิด ทั้งนี้ ไม่เกินสามปี
มาตรา 33
ผู้ประกอบวิชาชีพประพฤติผิดจริยธรรมทำเรื่องยื่นต่อสภาการพยาบาล
มาตรา 34
เมื่อได้รับกล่าวหาให้มีการพิจารณาเกี่ยวกับจริยธรรมแห่งวิชาชีพให้เลขาธิการเสนอเรื่องต่อประธานโดยไม่ชักช้า
มาตรา 35
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ รวมกันไม่น้อยกว่าสามคนมีหน้าที่แสวงหาข้อเท็จจริง
มาตรา 36 ให้คณะกรรมการรายงานดังกล่าว
ทำการสอบสวน
ให้ยกข้อกล่าวหาหรือกล่าวโทษ
แสวงหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติม
มาตรา 37 สรุปผลการสอบสวน และเสนอ พร้อมทั้งความเห็นเพื่อวินิจฉัยชี้ขาด
มาตรา 38 มีอำนาจเรียกบุคคลใดๆส่งเอกสารเพื่อประโยชน์แก่การดำเนินงาน
มาตรา 39 แจ้งข้อกล่าวหา พร้อมทั้งส่งสำเนา ไม่น้อยกว่าสิบห้าวันก่อนวันเริ่มทำการสอบสวน
มาตรา 40 เมื่อทำการสอบสวนเสร้จสิ้นแล้ว พร้อมทั้งความเห็นต่อคณะกรรมการโดยไม่ชักช้า
มาตรา 41 ยกข้อกล่าวหา ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ใบอนุญาตแต่ไม่เกิน 2 ปี
มาตรา 42 บันทึกข้อความตามคำสั่งไว้ในทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพ
มาตรา 43 ห้ามไม่ให้ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล แสดงวิธีดังกล่าวให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิประกอบวิชาชีพ ในขณะโดนพักงาน
บท 6 บทลงโทษ
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 31วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 27 หรือ 43ต้องระวางจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา 48 ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคำ ไม่ส่งเอกสาร ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท