Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร - Coggle Diagram
ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร
การฟัง
ประโยชน์
ประโยชน์ต่อตนเอง
ทำให้เรารับรู้เรื่องราวที่ฟังได้โดยตลอด
ช่วยพัฒนาสมรรถภาพของการใช้ทักษะภาษาอื่น ๆ
การฟังที่ดีเป็นพฤติกรรมของผู้มีมารยาทในการเข้าสังคม
ประโยชน์ต่อสังคม
เป็นกระบวนการสื่อสารที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ
ทำให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมได้สันติสุข
มารยาทในการฟัง
มารยาทในการฟังระหว่างบุคคล
ไม่พูดแทรกกลางคัน ไม่แสดงอาการเบื่อหน่าย
แสดงกิริยาอาการให้ทราบว่าสนใจ
แสดงปฏิกิริยาตอบสนองเรื่องที่ฟัง
ตั้งใจฟัง สายตาจับอยู่ที่ผู้พูดอย่างสนใจ
มีกิริยาท่าทางสำรวม
มารยาทในการฟังกลุ่ม
ให้เกียรติผู้พูดด้วยการปรบมือ
ไม่พูดคุยกับผู้ฟังด้วยกัน ไม่วิจารณ์ผู้พูดด้วยคำพูด
ควรอยู่ในความสงบสำรวมในขณะที่นั่งรอฟังการพูด
ไม่ออกจากสถานที่ที่มีการพูดก่อนเวลาสิ้นสุดการพูด
ผู้ฟังที่ไปก่อนควรนั่งเก้าอี้ในแถวหน้า ๆ
เดินทางไปถึงสถานที่ที่มีการพูดก่อนเวลา
จุดมุ่งหมาย
การฟังเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์
การฟังเพื่อสังคม
วิธีฝึกฝนและพัฒนาทักษะ
ขณะฟัง ต้องหมั่นฝึกปฏิบัติให้ได้ตามขั้นตอนการฟัง
พยายามหาประโยชน์จากการฟัง
ต้องรู้จักสังเกตอวัจนภาษาของผู้พูด
พยายามจดบันทึกทุกครั้งในขณะที่ฟัง
ปัญหาการจับใจความสำคัญ
ฟังอย่างสุภาพและตั้งใจจริง
ทำตัวให้มีความพร้อมที่จะรับฟัง
ไม่เป็นคนใจแคบ
ฟังให้ครบ
รักษามารยาทในการฟัง
กระบวนการ
การมีสมาธิต่อสิ่งที่เราได้ยินนั้น (Concentration)
การเข้าใจสิ่งที่ได้ยิน (Comprehension)
การได้ยินเสียงที่มากระทบโสตประสาท (Hearing)
การตีความสิ่งที่ได้ยิน (Interpretation)
การตอบสนอง (Reaction)
ทักษะการฟังเชิงรุก
ความหมาย
การฟังที่ต้องใช้ความอดทน
การฟังที่มีการทวนความเข้าใจให้ตรงกัน
การฟังด้วยใจ ไม่ใช่แค่หูฟังอย่างเดียว
การฟังที่ผู้ฟังต้องอยู่กับปัจจุบัน
ทำความรู้จักการฟังทั้ง 5 ระดับ
เลือกฟัง
ตั้งใจฟัง
แกล้งฟัง
ฟังด้วยใจ
ไม่สนใจ
เข้าใจเป้าหมายการฟังเชิงรุก
ฝึกฟังให้บ่อย เพื่อให้เกิดความเคยชิน
ความหมายและความสำคัญ
เป็นทักษะที่มนุษย์ต้องใช้ในชีวิตประจำวันมากกว่าทักษะด้านอื่น ๆ
เป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้การสื่อสารประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวก็ได้
การฟังเป็นกระบวนการอย่างหนึ่งของการรับสาร
การเขียน
ลักษณะของงานเขียนที่ดี
มีเอกภาพ
มีสัมพันธภาพ
มีจุดมุ่งหมายในการเขียนที่ชัดเจน
มีความกระจ่าง
มีรูปแบบการเขียนเหมาะสมกับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา
มีเนื้อหาดีและรายละเอียดเด่นชัด
มีจินตนาการที่สอดคล้องกับเนื้อหา
ใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม
เรื่องราวชวนติดตาม
การพัฒนาทักษะการเขียน
องค์ประกอบของย่อหน้า
ใจความสำคัญ
ประโยคขยายความ
กลวิธีขยายใจความสำคัญในย่อหน้า
ให้คำจำกัดความ
ให้เหตุผล
ให้รายละเอียด
ยกตัวอย่าง
เปรียบเทียบ
หลักการเขียนย่อหน้า
โดยทั่วไปย่อหน้ามีความยาวโดยประมาณ 4 บรรทัด
ความสั้นยาวของแต่ละย่อหน้าไม่ควรให้แตกต่างกันมากนัก
การย่อหน้าต้องยาวพอที่จะอธิบายความคิดได้แจ่มแจ้ง
ลักษณะย่อหน้าที่ดี
สมบูรณ์
มีเอกภาพ
มีสัมพันธภาพ
มีสารัตถภาพ
ความหมายและความสำคัญ
ทำให้บุคคลประสบความสำเร็จในชีวิตได้
สามารถยึดเป็นอาชีพที่สำคัญอย่างหนึ่งได้ในปัจจุบัน
เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดวัฒนธรรม
อาศัยสัญลักษณ์ที่เรียกว่าตัวหนังสือหรือตัวอักษรเป็นสื่อกลาง
การที่มนุษย์พยายามถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้ ความรู้สึกนึกคิด
ทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์
หลักเกณฑ์การสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์
ก่อนเขียนแต่ละครั้งให้ตั้งจุดมุ่งหมายและสำรวจความคิดของตนเอง
ควรจะกระตุ้นให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
ผู้สอนจะต้องใช้กลวิธีที่จะกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความคิด
ในการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์นั้น
จะต้องเน้นความคิดแบบอเนกนัย
จัดสถานการณ์เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ทั้งสถานการณ์ทางกาย
คำนึงถึงสิ่งใหม่ที่แตกต่างออกไปจากเดิม หรือมีลักษณะเฉพาะตัว
การสอนแบบสร้างสรรค์จะประสบผลสำเร็จมากกว่าล้มเหลว
การพิจารณาผลงานจะต้องคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
จะต้องอาศัยกระบวนการแบบประชาธิปไตย
ลำดับขั้นในการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์
เขียน
แลกเปลี่ยนความคิดจากเรื่องที่เขียน
แลกเปลี่ยนความคิดในเรื่องที่สนใจ
ติดตามผลกิจกรรมบางอย่างที่เหมาะสม
จูงใจ
ประโยชน์ของการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์
ช่วยให้รู้จักวงศัพท์มากขึ้น
รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ช่วยให้มีความรู้ ความซาบซึ้งในวรรณคดีที่มีคุณค่าต่าง ๆ
เป็นงานที่สร้างความสุขสนุกสนาน
ฝึกทักษะและการพัฒนาการใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
ความหมาย
แสดงความคิด ความรู้สึก และความรู้ ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
เป็นทักษะที่ผู้เขียนจะต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ของตน
การประเมินผลการเขียนเชิงสร้างสรรค์
การใช้ภาษาควรพิจารณาระดับของภาษาที่ใช้ว่าถูกต้องตามกาลเทศะ
รูปแบบควรพิจารณาเฉพาะการเขียนที่มีแผนแน่นอนว่า
เนื้อเรื่องควรพิจารณาแนวคิดหรือแนวเรื่องการจัดระเบียบความคิด
กลไกประกอบการเขียนอื่น ๆ
การพูด
ลักษณะของการพูดอย่างมีประสิทธิภาพ
พูดไม่เป็น
พูดยาว ยืดยาดเยิ่นเย้อเกินเวลากำหนด
พูดสั้นไป ขาดสาระสำคัญ
พูดไม่ชวนฟัง ไม่ใคร่ครวญก่อนพูด
พูดไม่รู้เรื่อง
พูดเป็น
มีวาทศิลป์
มีบุคลิกลักษณะที่ดี
เนื้อหาสาระ น่าสนใจ มีข้อมูลที่ถูกต้อง
มีความจริงใจต่อผู้ฟัง มุ่งประโยชน์ส่วนรวม
จุดมุ่งหมาย
เพื่อเกลี้ยกล่อมหรือจูงใจ
เพื่อกระตุ้นหรือสร้างความประทับใจ
เพื่อสอนหรือแจ้งข่าวสารให้ทราบ
เพื่อความบันเทิง
องค์ประกอบ
ผู้ฟังคือผู้รับสาร (Audience)
เนื้อหาสาร (Message)
ผู้พูด (Speaker)
เครื่องมือในการสื่อความหมาย (Communication)
ทักษะการพูดนำเสนอเชิงวิชาการ
ขั้นตอนการนำเสนอ
การศึกษาข้อมูล
ผู้รับฟัง
สถานที่ที่จะนำเสนอ
เรื่องที่จะนำเสนอ
เวลาที่จะนำเสนอ
การวางแผนการนำเสนอ
เนื้อหาและวิธีการการนำเสนอ
สื่อและเอกสารการนำเสนอ
สถานที่และเวลาที่จะนำเสนอ
ตัวผู้นำเสนอ
การนำเสนอ
นำเสนอข้อมูลหรือความรู้แก่ผู้ฟัง ตามแผนที่วางไว้
การนำเสนอต้องการสมาธิและความมั่นใจ
การประเมิน
เพื่อเป็นการปรับปรุงและพัฒนาทักษะในการนำเสนอผลงาน
สามารถทำได้ทั้งขณะที่นำเสนอและภายหลังการนำเสนอ
สังเกตอากัปกิริยาและการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้รับฟัง
สื่อในการนำเสนอ
เป็นสิ่งสำคัญที่มีผลต่อการรับรู้อย่างถูกต้องและดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง
เครื่องมือหรือวิธีการที่ผู้ส่งสารใช้ติดต่อกับผู้รับสาร
ความหมาย
การนำเสนอเนื้อหาสาระให้แก่บุคคลเป้าหมาย
เป็นสื่อสารข้อมูลตลอดจนเผยแพร่ก้าวหน้าขององค์ความรู้
ความหมายและความสำคัญ
อาศัยภาษา ผ่านถ้อยคำ น้ำเสียง และอาจมีกิริยาท่าทางร่วมด้วย
เป็นแกนกลางในการทำความเข้าใจ เพื่ออธิบายโน้มน้าวจูงใจ
พฤติกรรมการสื่อความหมายของมนุษย์
มีความสำคัญต่อการประกอบอาชีพ
การอ่าน
จุดมุ่งหมาย
อ่านเพื่อความรู้
อ่านเพื่อหาคำตอบ
อ่านเพื่อปฏิบัติตาม
อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน
ประโยชน์ของการอ่าน
ต่อตนเอง
ก่อให้เกิดความรอบรู้ อ่านมากย่อมรู้มาก
ทำให้เป็นผู้ทันต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นา
ได้รับความเพลิดเพลินและจรรโลงใจจากการอ่าน
ต่อสังคม
การอ่านเป็นกุญแจในการสืบค้น
เป็นการสร้างสรรค์ปัจเจกบุคคลให้เกิดความรู้
ส่งผลต่อการรวมกลุ่มสู่เศรษฐกิจชุมชน เศรษฐกิจทางสังคม
เป็นปัจจัยพื้นฐานในการนำเสนอความคิดแลกเปลี่ยนความคิด
เป็นการเปิดโลกทัศน์ให้กว้างขวางมองเห็นความเป็นอยู่
กระบวนการ
การเข้าใจความหมายของสาร
การมีปฏิกิริยาต่อสาร
การมองเห็นตัวอักษร สัญลักษณ์ หรือข้อความชัดเจนแล้วเข้าใจ
การบูรณาการความคิด
ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
จุดมุ่งหมาย
เพื่อแสวงหาข่าวสารความคิด
เพื่อจุดประสงค์เฉพาะแต่ละครั้ง
เพื่อแสวงหาความบันเทิง
เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
เพื่อแสวงหาความรู้
เพื่อพัฒนาและปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพ
ประเภท
การอ่านแบบศึกษาค้นคว้า
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การอ่านแบบตรวจตรา
การอ่านโดยใช้วิจารณญาณ
การอ่านอย่างคร่าว ๆ
ประโยชน์
ช่วยให้ผู้อ่านเกิดทักษะในการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
ช่วยให้ผู้อ่านเพิ่มประสิทธิภาพการอ่านให้แก่ตนเอง
ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมทั้งหมดของงานเขียนแต่ละชิ้น
นำเอาวิธีการและผลจากการอ่านมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิต
หลักการอ่านเชิงวิเคราะห์
แยกแยะส่วนที่เป็นสาระสำคัญและส่วนขยายความ
สาระสำคัญ
ขยายความ
แยกแยะส่วนที่เป็นข้อเท็จจริงออกจากข้อคิดเห็นในงานเขียนต่างๆ
ข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็นในงานเขียน
ขั้นตอนของการอ่านเชิงวิเคราะห์
วิเคราะห์
สรุป
รวบรวมข้อมูล
ประยุกต์และนำไปใช้
ความหมายและความสำคัญ
เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ความคิดและประสบการณ์
การอ่านช่วยให้ได้รับความรู้ช่วยพัฒนาความคิด และยกระดับสติปัญญา
เป็นทักษะประเภทหนึ่งที่มนุษย์ใช้สำหรับสืบค้นและเรียนรู้