Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ
ความสำคัญของการขับถ่ายอุจจาระ
เป็นการขับของเสียออกจากร่างกายหากร่างกายไม่ขับถ่ายอาจทำให้เกิดสารพิษและของเสียที่ตกค้างอยู่ในลำไส้
ถ้าร่างกายมีการสะสมของเสียตกค้างเป็นเวลานานนั้นย่อมมีโอกาสในการได้รับสารพิษกลับเข้าไปในร่างกาย
จึงควรให้ความสำคัญกับสัญญาณความรู้สึกอยากขับถ่าย
ให้เวลาที่เพียงพอสำหรับการขับถ่ายอุจจาระด้วยการดื่มเครื่องดื่มร้อนๆ ในตอนเช้า
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการขับถ่ายอุจจาระ
อายุ
ชนิดของอาหารที่รับประทาน
ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ
การเคลื่อนไหวของร่างกาย
อารมณ์
ความสม่ำเสมอในการขับถ่าย
ความเหมาะสม สิ่งแวดล้อมมีส่วนช่วยในการขับถ่าย
ยา
การตั้งครรภ์
อาการปวด
การผ่าตัดและการดมยาสลบ
การตรวจวินิจฉัยโรค
ลักษณะของอุจจาระปกติและสาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
ลักษณะของอุจจาระปกติ
อ่อนนุ่มมีสีอยู่ระหว่าง เหลือง น้ำตาลอ่อนไปจนถึงน้ำเข้มขึ้นอยู่กับอาหารที่รับประทาน
สาเหตุของอุจจาระที่ผิดปกติ
มีธาตุเหล็กปนอยู่หรือมีเลือดออกในทางเดินอาหาร
มีริดสีดวงทวารหรือบริโภคผัก
พร่องหน้าที่การดูดซึมของไขมัน
ท้องเสียหรือการดูดซึมลดลง
มีการอุดตันในทางเดินอาหารหรือมีการบีบตัวของลำไส้เพิ่มขึ้น
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ปกติคนทั่วไปถ่ายอุจจาระอยู่ในวิสัยระหว่างสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ถึงวันละ 3 ครั้ง
ถ่ายอุจจาระน้อยกว่าสัปดาห์ 3 ครั้งอาจถือว่า “ท้องผูก”
ถ่ายอุจจาระมากกว่าวันละ 3 ครั้ง อาจเรียกว่า “ท้องเดิน”
ภาวะท้องผูก
ทานอาหารที่มีกากใยน้อยภาวะขาดน้ำ
อาจเกิดจากความเจ็บปุวยหรือการรักษาด้วยยา
ไม่ได้ฝึกขับถ่ายให้เป็นเวลา
การอัดแน่นของอุจจาระ
เป็นอาการที่สืบเนื่องจากท้องผูก
เป็นการสะสมของอุจจาระที่แห้งแข็งในลำไส้ตรงและน้ำถูกดูดซึมกลับเข้าสู่ร่างกายเรื่อย ๆ
ไม่ได้ถ่ายอุจจาระติดต่อกันนานแล้ว
ภาวะท้องอืด
มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก อาหารไม่ย่อย
มีแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ปริมาณมาก
มีการสะสมของอุจจาระมาก
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
มักเกิดจากการรบกวนที่หูรูดทวารหนัก
ความผิดปกติของปลายประสาทรับความรู้สึกบริเวณทวารหนัก
ภาวะท้องเสีย
จากอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
จากการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและอารมณ์
การได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและมีอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
การถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง
การผ่าตัดเอาล าไส้มาเปิดออกทางหน้าท้องเพื่อให้เป็นทางออกของอุจจาระ
มักทำในผู้ปุวยที่มีพยาธิสภาพที่ลำไส้
การสวนอุจจาระ
วัตถุประสงค์
ลดปัญหาอาการท้องผูก
เตรียมตรวจทางรังสี
เตรียมผ่าตัดในรายที่ผู้ปุวยจะต้องดมยาสลบ
เตรียมคลอด
เพื่อการรักษา
ชนิดของการสวนอุจจาระ
Cleansing enema
เป็นการสวนน้ำหรือน้ำยาเข้าไปในลำไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของลำไส้
Retention enema
การสวนเก็บเป็นการสวนน้ำยาเข้าไปเก็บไว้ในลำไส้ใหญ่ในผู้ใหญ่ไม่เกิน 200 ml.
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
ลำไส้อุดตัน
มีการอักเสบของลำไส้
มีการติดเชื้อในช่องท้อง
ผู้ปุวยภายหลังผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย
ข้อควรคำนึงในการสวนอุจจาระ
อุณหภูมิของสารน้ำอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ105 ̊F
ปริมาณสารละลายใช้สวนอุจจาระ
ท่านอนของผู้ป่วยท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ำ ไม่ควรให้อยู่ในท่านั่ง
แรงดันของสารน้ำที่สวนให้แก่ผู้ป่วย
การปล่อยน้ำเปิดClamp ให้น้ำไหลช้าๆ
ความลึกของสายสวนที่สอดเข้าไปในลำไส้
การหล่อลื่นหัวสวนด้วยสารหล่อลื่น
ทิศทางการสอดหัวสวน
ระยะเวลาที่สารน้ำกักเก็บอยู่ในลำไส้ใหญ่
การแก้ไขเมื่อสารละลายในหม้อสวนไม่ไหลเป็นปกติ
อาการแทรกซ้อนจากการสวนอุจจาระ
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
เป็นการตรวจสุขภาพพื้นฐานการตรวจหนึ่ง หรือการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นของโรคระบบทางเดินอาหาร
ชนิดการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
การตรวจอุจจาระหาความผิดปกติ
การตรวจอุจจาระหาเลือดแฝง
การตรวจอุจจาระโดยการเพาะเชื้อ
อุปกรณ์เครื่องใช้
ภาชนะมีฝาปิดมิดชิด
ใบส่งตรวจ
ไม้แบน สำหรับเขี่ยอุจจาระ
กระดาษชำระ
หม้อนอน
วิธีปฏิบัติ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ และเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระลงในหม้อนอนที่สะอาดและแห้ง
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การเก็บอุจจาระส่งตรวจเพาะเชื้อ
ให้ผู้ป่วยเบ่งถ่ายเล็กน้อย
ส่งห้องปฏิบัติการทันทีภายใน 30 นาที
ลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการขับถ่ายอุจาจาระ
การประเมินภาวะสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ท้องผูกเนื่องจากมีพฤติกรรมใช้ยาระบายเป็นประจำ
การวางแผนการพยาบาล
เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
การปฏิบัติการพยาบาล
แนะนำให้ความรู้และเน้นความสำคัญของการบริโภคอาหารที่มีกากใย
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินอาหารและลำไส้
อธิบายประโยชน์ของการดื่มน้ำให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
แนะนำให้ออกกำลังกายตามความเหมาะสม
ฝึกการขับถ่ายอุจจาระเป็นตรงเวลาทุกวัน
ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส
การประเมินผลการพยาบาล
มีการถ่ายอุจจาระได้โดยไม่ใช้ยาระบาย
เลือกรับประทานอาหารที่มีกากใย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระตรงเวลาทุกวัน