Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบรับความรู้สึก (Sensory system), image, นางสาว ศิริกัลญา สีอ่อนดี…
ระบบรับความรู้สึก (Sensory system)
อวัยวะรับความรู้สึกการทรงตัว
Macula
เป็นเนื้อเยื่อบุผิวบริเวณพิเศษในผนังของ utricle และ saccule ทำหน้าที่รับรู้การเคลื่อนของศีรษะแบบ linear movement
Crista ampullaris
เป็นรอยนูนในแต่ละ ampulla ของ semicircularduct มีลักษณะเป็น transverse erithelial ridge ที่หนาและจัดตัวในแนวตั้งฉากกับ long axis
หูชั้นในส่วนเวสติบูลาร์แลบิรินธ์
มีอวัยวะรับความรู้สึกการทรงตัวที่มีบริเวณรับสัญญาณประสาทอยู่ 5 ที่ คือ
utricle 1 คือ ส่วนที่เป็นกระเปาะบริเวณตรงกลางของ vestibule
saccule 1 คือ กระเปาะที่อยู่ในผนังตรงกลางของ bony vestibula
crista ampullaris 1 คือ บริเวณที่รับสัญญาณประสาทที่วางตัวอยู่ที่ ampulla
การรับกลิ่น
อวัยวะในการรับกลิ่น คือ จมูก ส่วนเซลล์ประสาทที่ทำหน้าที่รับรู้กลิ่นจะอยู่ภายในเนื้อเยื่อบุผิวเรียกว่า Olfactory epithelium
ใน Olfactory epithelium พบ cell 3 ชนิด ได้แก่
1. Supporting หรือ sustentacular cell
เป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่ค้ำจุนเซลล์ประสาทรับกลิ่นทำหน้าที่หลั่งน้ำเมือก เพื่อเคลือบเยื่อบุผิวช่องจมูกให้ชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลา
2. Basal cells
เป็นเซลล์ที่เจริญไปเป็นเซลล์ค้ำจุนเพื่อทดแทนเซลล์เก่าที่ตายลง
3. Olfactory cells
ทำหน้าที่เป็นเซลล์รับกลิ่น ปลายด้านหนึ่งของเซลล์ทำหน้าที่เป็นแขนงปลายยื่นไปในชั้นเยื่อเมือกที่เคลือบด้านในของช่องจมูกและจะแผ่ออกเป็นพุ่ม อีกปลายด้านหนึ่งจะเป็นแขนงกลางที่มีปลอกมัยอีลินหุ้มรวมกันเป็นเส้นประสาทรับกลิ่น
การรับรส
ตุ่มนูน ที่พบตามเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ยกนูนขึ้นมาจากลิ้น
มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกันไป ดังนี้
ตุ่มนูนที่มีรุปร่างเป็นวงกลมขนาดใหญ่ที่สุด พบเรียงกัน เป็นรูปตัววี อยู่บริเวณช่วงท้ายของลิ้น
ตุ่มนูนที่มีรูปร่างคล้ายกับดอกเห็ด พบที่บนบริเวณด้านบนปลายลิ้นและด้านข้าง
ตุ่มนูนที่มีรูปร่างเรียวปลายแหลม พบทั่วไปในส่วนของลิ้น
ตุ่มนูนที่มีรูปแบบโค้งมน พบบริเวณด้านข้างค่อนไปทางด้านหลังของลิ้น
โครงสร้างของตุ่มรับรส (Taste buds)
ตุ่มรับรสมีลักษณะคล้ายหัวหอม ภายในพบเซลล์รูปกระสวยเรียงกันหนาแน่น ส่วนปลายของเซลล์มาบรรจบกันเกิดเป็นช่อง taste pore ซึ่งเป็นบริเวณที่รับสารละลายจากภายนอกมาสัมผัสกับเซลล์รับบรส
เส้นประสาทรับรสที่ฐานเซลล์ส่งไปยังเส้นประสาทสมองตามตำแหน่งที่รับรสดังนี้
2/3 ทางด้านหน้าของบริเวณตัวลิ้น รับรสโดย CN VII
1/3 ทางด้านหน้าของบริเวณโคนลิ้น รับรสโดย CN IX
บริเวณฝาปิดกล่องเสียง รับรสโดย CN X
นอกจากเซลล์รับรสแล้ว ยังพบเซลล์ค้ำจุน และเซลล์ฐาน ภายในต่อมรับรสด้วย
อวัยวะที่ช่วยในการรับรส
คือ ลิ้น บริเวณพื้นผิวของลิ้นมี โครงสร้างรับสัมผัส ยื่นนูนออกมา ตุ่มนูนนี้ เรียกว่า papillae ประกอบด้วย ตุ่มรับรส ประมาณ 250 อัน ซึ่งมีเซลล์ประสาทรับรส คือ ประสาทสมองคู่ที่ 7 คู่ที่ 9 และคูที่ 10
ตุ่มรับรสจะพบมากที่สุดบนผิวด้านบนของลิ้น
นอกจากนี้ยังพบได้ที่บนเพดานปากอ่อนและลำคอ
นางสาว ศิริกัลญา สีอ่อนดี รหัสนิสิต 63010410099