Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการความขัดเเย้ง - Coggle Diagram
การจัดการความขัดเเย้ง
กระบวนการของความขัดเเย้งในองค์การ
ช่วงการเเสดงพฤติกรรมออกมาอย่างชัดเจน
ช่วงการแก้ไขความขัดเเย้ง
ช่วงตระหนักในความขัดเเย้งและนำตัวบุคคลเข้าสู่ความขัดเเย้ง
ช่วงผลลัพธ์จากความขัดเเย้ง
ช่วงที่เริ่มที่จะมีความขัดเเย้ง
เทคนิคในการจัดการความขัดเเย้งอย่างสร้างสรรค์
การหลีกเลี่ยง
ประเด็นขัดเเย้งเป็นเรื่องไร้สาระ
เมื่อรู้ว่าไม่มีโอกาสที่จะชนะ
ผลเสียมากกว่าผลดี
เมื่อต้องการลดความโกรธลง
การประนีประนอม
เพื่อให้สามารถตกลงกันได้ชั่วคราว
เพื่อให้ได้วิธีการแก้ปัญหา
คู่ขัดเเย้งมีอำนาจมากกว่า
ใช้เป็นทางสายกลาง
การยินยอม
ประเด็นไม่สำคัญกับตัวเรา
ต้องการสร้างความยอมรับจากสังคม
ในสถานการณ์ที่เราเป็นฝ่ายผิด
มีแต่ผลเสีย
ต้องการประสานสามัคคี
ต้องการพัฒนาบุคลากร
การร่วมมือ
เพื่อจะปรับความเข้าใจซึ่งกันเเละกัน
ต้องการหาวิธีที่ดีกว่า
ต้องการเข้าใจความคิดเห็นผู้อื่น
เพื่อต้องการผสมผสานความคิดเห็น
เพื่อให้มีความผูกพันต่อกัน
การเอาชนะจะใช้วิธีนี้ก็ต่อเมื่อ
เมื่อเป็นประเด็นสำคัญ
มั่นใจว่าเราถูก
ต้องรีบตัดสินใจเร่งด่วน
เพื่อป้องกันตนเอง
ความขัดเเย้ง
ต่างฝ่ายต่างยอมรับการอยู่ตรงข้ามกัน
แต่ละฝ่ายต่างเชื่อว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะขัดขวางต่อผลประโยชน์ของฝ่ายตน
มีผลประโยชน์ตรงกันข้ามระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม
มีการกระทำเพื่อให้เกิดการขัดขวางดังกล่าวจริง
วิวัฒนาการของเเนวความคิดที่เกี่ยวกับความขัดเเย้ง
แนวคิดเชิงมนุษย์สัมพันธ์
ความขัดเเย้งเป็นสิ่งที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้
ความขัดเเย้งมิใช่เรื่องที่เลวร้ายเสมอไป
ความขัดเเย้งเกิดขึ้นได้ทุกกลุ่ม
ความขัดเเย้งไม่สามารถหมดไปได้
ความขัดเเย้งเป็นเรื่องปกติ
ผู้บริหารควรให้การยอมรับและทำความเข้าใจ
ผู้บริหารควรควบคุมความขัดแย้ง
แนวคิดแบบนักปฏิสัมพันธ์
ความขัดเเย้งทำให้องค์กรเห็นปัญหา
ความขัดเเย้งช่วยให้บุคคลเกิดการตื่นตัว
องค์การที่ปราศจากความขัดเเย้งจะเข้าสู่สภาวะการเริ่มตกต่ำขาดการปรับตัว
ความขัดเเย้งช่วยให้องค์การพัฒนา
ความขัดเเย้งเป็นพลังบวก
แนวคิดเเบบดั้งเดิม
ความขัดเเย้งเป็นการทำลาย
ความขัดเเย้งเป็นความไร้เหตุผล
ความขัดเเย้งเป็นการสร้างความรุนแรง
ความขัดเเย้งเป็นเรื่องที่ควรหลีกเลี่ยง
ความขัดเเย้งเป็นสิ่งที่เลวร้าย
สาเหตุของความขัดเเย้ง
ความขัดเเย้งที่มีสาเหตุมาจากองค์ประกอบส่วนบุคคล
ภูมิหลังของบุคคลซึ่งมีความแตกต่างทางวัฒนธรรม การศึกษา ค่านิยม
ความขัดเเย้งที่มีสาเหตุมาจากความสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การสื่อความหมายผิด
ขาดความไว้วางใจต่อกัน
มีคนจ้องจับผิดตน
เกิดจากบุคลิก
เกิดจากอารมณ์ขุ่นเคือง
ความขัดเเย้งที่มีสาเหตุมาจากองค์การ
ความขัดเเย้งในการเเย่งชิงทรัพยากรที่มีจำกัด
ความไม่ชัดเจนเรื่องหน้าที่งานรับผิดชอบ