Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 การออกแบบโครงสร้างองค์การ - Coggle Diagram
บทที่ 13 การออกแบบโครงสร้างองค์การ
การออกแบบโครงสร้างระหว่างองค์การ
เพื่อให้บรรลุการขายสำหรับตลาดส่งออก
เพื่อสร้างธุรกิจใหม่
เพื่อปรับปรุงฐานะทางการแข่งขัน
เพื่อจัดโครงสร้างใหม่ให้กับภาคธุรกิจที่มีคู่แข่งหนาแน่น
วัตถุประสงค์ของการจัดองค์การ
แบ่งงานออกเป็นกลุ่ม/แผนกงาน
มอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบ
ก่อให้เกิดการประสานงานในกิจกรรม
ขนาดของการควบคุม
โครงสร้างองค์การแบบสูง
ข้อดี
บุคลากรจะมีโอกาสเลื่อนขั้นไปสู่ขั้นที่สุงขึ้นได้เรื่อยๆ
การควบคุมการทำงานทำได้ใกล้ชิด
ข้อเสีย
การรายงานผล
การประสานงาน
อาจถูกบิดเบือน
ล่าช้า
โครงสร้างองค์การที่มีสายการบังคับบัญชาลดหลั่นเป็นขั้นหลายขั้น
โครงสร้างองค์การแบบแนวราบ
องค์การก่อตั้งใหม่
มีขนาดเล็ก
มีตำแหน่งไม่ซับซ้อน
ข้อดี
รวดเร็ว
ข้อมูลไม่ถูกบิดเบือน
การสั่งการ
ข้อเสีย
พนักงานมักลาออก
รูปแบบของโครงสร้างองค์การ
โครงสร้างองค์การแบบแมทริกซ์
ข้อดี
ช่วยให้การติดต่อสื่อสารในองค์การดีขึ้น
ช่วยลดความรู้สึกปกป้องเฉพาะกลุ่มให้น้อยลง
ใช้ประโยชน์จากความเชี่ยวชาญของบุคคล
ข้อเสีย
สร้างความสับสนเกิดยื้อแย่งการมีอำนาจ
โครงสร้างองค์การแบบเป็นหน่วยงาน
ข้อดี
มีความชัดเจนในเรื่องความรับผิดชอบในหน้าที่
การประเมินผลงานของพนักงานทำได้ชัดเจนขึ้น
การบริหารจัดการข้อมูลต่างๆทำได้ง่ายขึ้น
ข้อเสีย
ผู้บริหารจะขาดความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานสูง
มีการแข่งขัน
ขาดความร่วมมือประสานงานที่ดี
โครงสร้างองค์การตามหน้าที่
ฝ่ายวิจัยและพัฒนา
ฝ่ายขาย
ฝ่ายผลิต
การแบ่งประเภทโครงสร้างองค์การตามแนวคิดของนักพฤติกรรมศาสตร์
ทฤษฎีเชิงระบบของลิเคิร์ท
เป็นตัวเชื่อมที่ต่ำกว่า
เป็นตัวเชื่อมระหว่างคนระดับเดียวกัน
เป็นตัวเชื่อมกับระดับที่สูงกว่า
โครงสร้างองค์การแบบมีชีวิต
มีระดับชั้นของการบังคับบัญชา
กฎเกณฑ์และขั้นตอนทางการน้อย
องค์การมีการยืดหยุ่นได้สูง
ให้ความสำคัญของการกระจายอำนาจ
โครงสร้างองค์การแบบจักรกล
มีสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน
เน้นกาารติดต่อสื่อสารตามสายการบังคับบัญชา
การกำหนดแผนกหรือฝ่ายต่างๆอย่างชัดเจน
เป็นโครงสร้างองค์การที่เน้นการแบ่งงานมาก
ความหมายของโครงสร้างองค์การและการจัดการ
การกำหนดหน้าที่อย่างชัดเจน
ความรับผิดชอบในงานต่างๆ
การมอบหมายงาน
แนวคิดการจัดโครงสร้างขององค์การร่วมสมัย
องค์การแบบไร้พรมแดนแบบโมดุล
มีสัญญาเป็นกลไกในการเชื่อมโยง
การที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสาน
กลุ่มเครือข่ายจะประกอบไปด้วยองค์การอิสระ
จะเชื่อมโยงด้วยยระบบข้อมูลที่เปิดเผย
องค์การแบบไร้พรมแดนแบบองค์การเสมือนจริง
เกิดจากการรวมตัวเป็นเครือข่าย
ร่วมมือกับรืษัทต่างๆภายนอกแบบชั่วคราว
เพื่อดำเนินตามโครงการเฉพาะกิจ
มีความยืดหยุ่นค่อนข้างสูง
องค์การแบบไร้พรมแดนที่แท้จริง
แนวทางเพื่อลดอุปสรรคจากความห่างงไกลทางภูมิศาสตร์
การโยกย้ายหมุนเวียนงานระหว่างประเทศ
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
แนวทางเพื่อลดอุปสรรคภายใน
การสร้างระบบพันธมิตรเชิงกลยุทธ์
มีระบบบสายสัมพันธ์ระหว่างลูกค้ากับองค์การ
การสร้างกลไกในการเชื่อมโยงลูกค้ากับองค์การ
แนวทางเพื่อลดอุปสรรคภายใน
แนวตั้ง
ให้โอกาสและสนับสนุนให้พนักงาน
ใช้แบบประเมิน360องศา
สร้างทีมงานข้ามระดับการบังคับบัญชา
แนวนอน
สร้างทีมงานแบบข้ามสายงาน
การใช้นโยบายการโยกย้ายงาน
การจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างแผนก
ความสำคัญของการจัดองค์การ
การลดข้อบกพร่อง
จุดอ่อนขององค์การ
ทุ่มเทและรอบคอบในการจัดองค์การ
ความเป็นทางการ
มีกฎเกณฑ์และระเบียบ
ควบคุมการดำเนินการที่แน่นอนตายตัว
มีรายละเอียดของงานชัดเจน
มีความชัดเจนของสิ่งที่ต้องทำ
ลักษณะเฉพาะของงาน หรือการแบ่งงานตามความถนัด
ความลึกของงาน
ลักษณะงาน
ขอบเขตของงาน
การรวมศูนย์และการกระจายอำนาจ
การรวมศูนย์
ข้อเสีย
การบริหารงานล่าช้า
ผู้บริหารระดับสูงไม่สามารถควบคุมกิจการได้ทั่วถึง
ข้อดี
กำหนดรูปแบบเดียวกัน
ลดต้นทุนการทำงาน
ทำให้บุคลากรเกิดความชำนาญเฉพาะอย่าง
การกระจายอำนาจ
ข้อดี
การเปิดโอกาสให้พนักงานได้มีส่วนร่วม
พนักงานพัฒนาอย่างรวดเร็ว
ดำเนินการอย่างรวดเร็ว
ข้อเสีย
ควบคุมดูแลไม่ทั่วถึง
ต้นทุนการทำงานเพิ่มขึ้น
ขาดมาตรฐานการทำงาน
เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการและฝ่ายให้คำปรึกษา
กลุ่มหน้าที่ในการแนะนำ
งานกฏหมาย
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
รับผิดชอบต่องานบริหารทรัพยากร
กลุ่มที่ทำหน้าที่ปฏิบัติงาน
รับผิดชอบต่องานด้านการขาย/ผลิต
ขอบเขตของการออกแบบโครงสร้างองค์การ
เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการและฝ่ายให้คำปรึกษา
ลักษณะเฉพาะของงาน
ความเป็นทางการ
สายการบังคับบัญชา
ขอบเขตการควบคุม/ขนาดของการควบคุม
การรวมอำนาจและการกระจายอำนาจ
สายการบังคับบัญชา
อำนาจเป็นทางการ
เอกภาพของการบังคับบัญชา