Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการประเมินสุขภาพเบื้องต้น - Coggle Diagram
แนวคิดการประเมินสุขภาพเบื้องต้น
:star:ความหมายของการประเมินสุขภาพ
ความหมายของการประเมินสุขภาพ
การประเมินสุขภาพ (Health assessment)
ผู้ใช้บริการซึ่งต้องอศัยทักษะและประสบการณ์หลายค้นทั้งด้นความรู้เกี่ยวกับโรคและกลุ่มอาการเป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพของต่างๆ ความสามารถในการชักประวัติการตรวจร่างกาย การสืบค้นข้อมูลต่างๆการวิเคราะห์ปัญหาและวางแผ่นกรดูแลผู้ป่วยและต้องอศัยทักษะในการสร้างสัมพันธภาพและการคิดวิเคราะห์เพื่อให้ดมาซึ่งข้อมูลที่ถูกต้องและตรงกับความเป็นจริง
การประเมินสุขภาพ
ที่มาของข้อมูลจากการประเมินสุขภาพ มีดังนี้
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
เป็นข้อมูลที่ได้จกการบอกเล่ของบุคคลต่างๆ
ข้อมูลปรนัย (Objective data)
เป็นข้อมูลที่ได้จกการตรวจสอบและวัดประเมิน ได้จากการสัเกตและตรวจวัดด้วยเครื่องมือ
:star:หลักการประเมินภาวะสุขภาพ
หลักการประเมินภาวะสุขภาพแบบองค์รวม
การประเมินสุขภาพนับเป็นกัษะพื้นฐนทางคลินิกซึ่มีความสำคัญมาก ประกอบด้วย การชักประวัติ การตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ กำรรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมิน สุขภาพสามารถกระทำได้ดังนี้
การชักประวัติหรือการสัมภาษณ์
เป็นข้อมูลพื้นฐานในการตัดสินระดับสุขภาพรวมทั้งปัจจัยเสี่ยงต่งๆ ซึ่งการประเมินต้องครอบคลุมข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล
การตรวจร่างกาย
นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอาการแสดงต่างๆ
ผิดปกติทางกาย ตลอดจนอารมณ์และความสึกของผู้ป่วยนอกเหนือจากการสัมภาษณ์
3.
การตรวจทางห้องปฏิบัติกร
เป็นการตรวจวินิฉัยทางห้องปฏิบัติการต่างๆได้แก่ เลือด ปัสสาวะ สารคัดหลั่งและอื่นๆ ที่จำเป็น เพื่อใช้ในการวินิจฉัยโรค
:star:
การประเมินสุขภาพ
เป็นการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคลที้งด้านสุขภาพทางกาย จิตสังคมและจิตวิญญาณ โดยคำนึงความแตกต่างระหว่างบุคคล แบ่งเป็น 2 ประเภท
1. การประเมินสุขภาพทางกาย
หมายถึ กรตรวจสุขภาพโดยทั่วไป ได้แก่ การชั่งน้ำหนัก การวัดส่วนสูง การวัดสัญญาณชีพ การตรวจร่งกายตามระบบ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2. การประเมินสุขภาพทางจิตสังคมและจิตวิญญาณ
เป็นการประเมินสภาพจิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ โดยการสังเกต สัมภาษณ์และการตรวจส่วนต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ การสื่อสาร เพื่อให้เกิดความรู้สึกไว้วางใจ อาจแบ่งเป็น 2 ประเภท
2.1 การประเมินด้านจิตสังคม (Psychosocial assessment)
2.2การประเมินด้านจิตวิญญาณ (Spiritual assessment)
การประเมินด้านจิตสังคม
มีองค์ประกอบสำคัญ ได้แก่
ข้อมูลทั่วไป
แบบแผนการเผชิญปัญหา
ความเข้าใจเกี่ยวกับความจ็บป่วยและผลกระทบที่เกิดจากความจ็บป่วย
บุคลิกภาพ
การเปลี่ยนแปลงสำคัญในชีวิตที่อาจทำให้เกิดความเครียด
6.ประวัติการเจ็บป่วยทางจิต
7.การประเมินสภาพจิต
การประเมินสภาพจิต
สิ่งที่ควรประเมินสภาพจิตมีดังนี้
ลักษณะทั่วไป (General appearance)
การพูด (Speech)
อารมณ์ (Emotion)
ความคิดและการคิด (Thought and Thinking)
การรับรู้ (Perceptions)
:star:กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการประเมินสุขภาพ
กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการประเมินสุขภาพ
การประเมินสุขภาพจำเป็นต้องมีกรอบแนวคิดใการประเมินเพื่อให้ง่ายต่อการวิเคราะห์และวางแผนการรักษาพยาบาล ปัจจุบันมีกรนำแนวคิดเกี่ยวกับการประเมินสุขภาพมาใช้เป็นแนวทางหลายแนวคิดตัวอย่างกรอบแนวคิดและทฤษฎีในการประเมินสุขภาพที่นิยมใช้ มีดังนี้
1. แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน (Gordon's functional health)
ใช้เป็นแนวทางในการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคลครอบครัวหรือชุมชน โดยประเมินแบบแผนพฤติกรรมภายนอกและภายในของบุคคลที่เกิดขึ้นช่วงระยะเวลหนึ่แลมีผลต่อสุขภาพ
2. ทฤษฎีการปรับตัวของรอยทฤษฎีการปรับตัวของรอยสร้างโดยซิสเตอร์ คอลลิสตา รอย (Sister Callista Roy)
การรับรู้เป็นพื้นฐานการปรับตัวของบุคคล 4 ด้าน คือ
การปรับตัวด้านร่างกาย (Physiological needs)
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (Self-concept)
การปรับตัวตามบทบาทหน้าที่ (Role-function)
การปรับตัวตามการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน(Interdependence)
3. ทฤษฎีการพยาบาลของโอเรีม (Orem's Self-Care Theory)
เริ่มพัฒนาทฤษฎีการพยาบาลจกความรู้สึดับข้อใจที่พยาบาลไม่สามารถบอกความหมายและวัตถุประสด์ขอการพยาบาลได้ชัดเจน มักอธิบายการพยาบาลในลักษณะกิจกรรมที่ปฏิบัตการปฏิบัติการพยาบาลงานป็นหลัก (Task orented) ไม่สามารถอธิบายเหตุผลของการกระทำได้ชัดเจน ทำให้ขอบเขตขอคารปฏิบัติการพยบาลไม่ชัดเจน
ทฤษฎีการดูแลตนเอง (Theory of self-care)
ประกอบด้วยความต้องการการดูแลตนเอง(Therapeutic self-care demand) และการดูแลตนเองที่จำเป็น (Self-care requisites) ความสามารถของบุคคลที่จะกระทำการดูแลตนเอง (Selfcare gency) และการกระทำการดูแลตนเอง(Self-care)
ซึ่งการดูแลตนเองที่จำเป็นของบุคคลมี 3 ด้าน คือ
ทฤษฎีการดูแลตนเอง (Theory of self-care)
การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป (Universal self-care requisites)
2 กรดูแลตนเองที่จำเป็นตมระยะพัฒนาการ (Developmental self-care requisites)
3.การดูแลตนเองที่จำเป็นเมื่อมีปัญหาทางสุขภาพ (Health deviation self-care requisites)
2 กรดูแลตนเองที่จำเป็นตมระยะพัฒนาการ (Developmental self-care requisites)
เป็นการดูแลนเองที่กิดขึ้นจกกระบวนกรพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ในระยะต่างๆ เช่น
เจริญติบโตข้สู่วัยต่ง ของชีวิต
1. การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป (Universal self-care requisites)
เป็นการดูแลตนเองเพื่คารส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและสวัสติภาพของบุคคลการดูแลตนเองเหล่านี้จำเป็น
3.การดูแลตนเองที่จำเป็นเมื่อมีปัญหาทางสุขภาพ (Health deviation self-care requisites)
เป็นการดูแลนเองที่เกิดขึ้นเนื่องจกความเจ็บปวย มีความผิดปกติของหน้าที่ร่างกาย หรือมีความพิการตั้งแต่กำเนิด เมื่อใดก็ตามที่เกิดความผิดปกติของรูปร่างหรือเกิดความพิการขึ้น
ซึ่งเป็นผลมาจกภาวะสุขภาพที่เบี่ยงเบนไป
ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง (The theory of self-care defcit)
เมื่อความต้องการการดูแลตนเอมากกว่ความสามารถที่จะตอบสนองได้ บุคคลจะมีความพร่องในการดูแลตนเองและต้องการความช่วยเหลือจกพยาบาลทฤษฎีนี้ได้อธิบายถึงความต้องการของบุคคลและประโยชน์ที่ได้รับจกการพยบาลซึมีความสำคัญมากเนื่องจากพยาบาลต้องปฏิบัติงานอยู่กับบุคคลที่เผชิญกับภาวะวิกฤตและการเปลี่ยนแปลงในชีวิตจากความเจ็บป่วย หรือในเด็ก ผู้สูงอายุก็เช่นเดียวกัน
ทฤษฎีระบบการพยาบาล (The theory of nursing system)
การช่วยเหลือของพยาบาล(Nursing action system)สัมพันธ์กับความพร่องในการดูแลตนเองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการการกระทำทั้หมดซึ่งประกอบเป็นระบบการพยาบาลนั้น ได้มาจากการที่พยาบาลใช้ความสามารถที่เรียกว่าความสามารถทางการพยาบาล (Nusing agency)
ระบบการพยาบาล (Nursing system)
เป็นระบบที่ได้มาจากการใช้ความสามารถยาบาล เพื่อปรับแก้ไขความสมดุลระหว่างความสามารถในการดูแลตนเองกับความการดูแลนเองทั้งหมดของผู้ใช้บริการระบบการพยาบาลจะเกิดขึ้นเนื่อพยาบาลมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ป้วยเพื่อคันหาปัญหาความต้อการการดูแลและลงมือกระทำเพื่อสนองตอบต่อความต้องการการดูแล ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
ระบบทดแทนทั้งหมด (Wholly compensatory nursing system)
ระบบทดแทนบางส่วน (Partly compensatory nursing system)
ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ (Educative supportive nursing system)
:star:การประเมินสุขภาพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ
การประเมินสุขภาพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ
แนวคิดการอธิบายเกี่ยวกับความจ็บป่วยของไคลแมน (Explanatory model) (Kleinman,1980)
เป็นการประเมินสุขภาพตามกรรับรู้ของใช้ริกรซึ่งเป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสุขภาพแบบองค์รวมอีกแนวคิดหนึ่งไคลแมนเป็นจิตแพทย์และได้ศึกษาทางด้านมานุษยวิทยได้พัฒนาแนวคิดการที่บุคคลโดยไคลแมนพบว่าที่บุคคลใช้อธิบายความจ็บป่วยของตนเองหรือของบุคคลในกลุ่มรับรู้และจัดการกับความเจ็บปวยของเขานั้นขึ้นอยู่กับคำอธิบายเกี่ยวกับความเจ็บปวยของคนในกลุ่มนั้น
ไคลแมน (Kleinman, 1980)
จากแนวคิดการอธิบายความจ็บช่วยของไคลแมน ไคลแมนและคณะได้เสนอแนวทางการตั้งคำถามเพื่อให้ทรบกรอธิบายความหมายเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วย (Kleinman, et al,1978) โดยเจ้าหน้าที่ควรถามคำถามต่อไปนี้
1.ท่านคิดว่าอะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้ท่านเจ็บป่วย
2.ท่านเริ่มเจ็บป่วยเมื่อใด ทำไมท่านจึงคิดว่าท่านริ่มเจ็บปวยตอนนั้น
3.การเจ็บป่วยทำให้ทำนมีความลำบากในเรื่องใดบ้าง
การเจ็บป่วยของทนรุนแรงมากน้อยเพียงใด
ท่านคิดว่าท่านควรจะรับการรักษาด้วยวิธีใด
ท่านต้องการอะไรมากที่สุดจากการรักษา
7.ปัญหาหรือสิ่งที่ทนกังวลห่วงใยมากที่สุดเนื่องจากการเจ็บป่วยครั้งนี้คืออะไร
8.ท่านกลัวสิ่งใดมากที่สุดจากการเจ็บป่วยครั้งนี้
:star:หลักการประเมินสุขภาพของวัยเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
หลักการประเมินสุขภาพของวัยเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
การประเมินสุขภาพวัยเด็ก หลักการสำคัญใการชักประวัติ คือผู้ให้ข้อมูลควรเป็นบิดามารดาหรือญาติเลี้ยงดูหลัก การประมิขภาพเต็กแรกเกิดถึง 5 ปีหัวข้อที่ควรประมินโดยทั่วไป
ส่วนเด็กอายุ 6-10 ควรประเมินเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัญหการเรียนการได้รับภูมิคุ้มกับโรงเรียน การดูแลสุขวิทยส่วนบุคคล
การประเมินสุขภาพวัยรุ่น
วัยรุ่นเป็นรอยต่อระหว่าวัยต็กับวัยผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นข่วงชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายจิตใจและสังคม จึงมีวามเสี่ยงละปัญหาสุภาพที่มีลักษณะพิเศษจากวัยอื่นๆ การซักประวัติผู้ป่วยวัยรุ่นมีข้อควรปฏิบัติดังนี้
1.ทักทายทั้งวัยรุ่นและครอบครัวด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
2.ทำความเข้าใจสนใจและเคารพต่อความคิดของทั้งวัยรุ่นและครอบครัว
3.ขออนุญาตสนทนากับวัยรุ่นตามลำพังโดยไม่มีครอบครัวอยู่ด้วยและต้องเกินก่อนว่าจะไม่นำเรื่องที่สนทนากันไปเล่าให้ครอบครัวทราบ
4.ใช้คำถามที่เหมาะสมกับวัยและความคิดของวัยรุ่นแต่ละช่วง
5.รับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจและสนใจโดยไม่ขัดจังหวะเพื่อรามหรือสอน
6.สนใจทั้งภาษาพูดและภาษาท่าทางของวัยรุ่นว่ากำลังคิดอะไรอยู่
7.ระวังอย่าด่วนตัดสินวัยรุ่นจากภาษาพูดการแต่งกายหรือท่าทาง
8.หากไม่เข้าใจคำศัพท์แสลงวัยรุ่นให้ถามด้วยท่าทีที่สนใจ อยากรู้ด้วย
แนวคำถามเพื่อประเมินสุขภาพวัยรุ่นแบบองค์รวมที่นิยมใช้คือ
H-E-A-D-S-S
ดังนี้
1.
H: Home/Health
2.
E: Education
3.
A: Activity
4.
D: Drugs
5.
S: Sexuality
การประเมินสุขภาพวัยผู้ใหญ่
การประเมินสุขภาพวัยผู้ใหญ่
การประเมินสุขภาพวัยผู้ใหญ่แบ่งเป็นช่วงวัยได้ 2 ช่วง คือ
การประเมินสุขภาพวัยทำงน อายุระหว่าง 21-40 ปี คารประเมินน้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย ความดันโลหิต ชีพจร ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบันและอดีต ปัญหาสุขภาพ โรคประจำตัว การออกกำลักาย การมีเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิดปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจการใช้ยา สิ่งเสพติด ผู้ที่ให้คำปรึกษาเมื่อมีปัญหาชีวิตการทำงาน และถ้าเพศหญิงควรประเมินการ ตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกรวมทั้งการคลอดบุตรด้วย
การประเมินสุขภาพในวัยทอง
ได้แก่ อยุระหว่าง 41-59 ปี ควรประเมินภาวะไขมันสะสมเกิน(เพศหญิง รอบเอวมากกว่า 32 นิ้ว เพศชาย รอบเอวมากกว่า 36 นิ) ความดันโลหิต ชีพจร ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบันและอดีต ได้แก่ อาการร้อนวูบวาบ ตื่นนอนกลางดีกพร้อมเหงื่อออกท่วมตัว เหนื่อยง่ายกว่าปกติ ช่องคลอดแห้งและเจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์ ช่องคลอดอักสบ คัน ตกขาว
:star:การประเมินสุขภาพวัยผู้สูงอายุ
การประเมินสุขภาพวัยผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุมักลักษณะการเจ็บปวยที่แตกต่างจากวัยอื่นเนื่องจากมีการเบลี่ยนแปลงทั้งทางกายวิภาคและสรีรวิทยเนื่องจกความชรา (Reduce body reserve) ทำให้อาการและอาการแสดงมักไม่ชัดเจน (Atypical presentation) จึงทำให้วินิจฉัยโรคได้ช้า จกไปของคู่ครองล้วนส่ผลต่อสุขภาพของผู้สูงอายุจึงได้มีการสรุปเป็นคำย่อเพื่อให้จำง่าย คือ
"RAMPS"
ดังนี้
R: Reduce body reserve
A: Atypical presentation
M: Multiple pathology
P: Polypharmacy
A: Adverse drug reaction
S: Social adversity
การประเมินสุขภาพของผู้สูงอายุจึงต้องประเมินอย่างครบถ้วนสมบูรณ์
ได้แก่
1. การประเมินสุขภาพด้านร่างกาย (Physical _ assessment)
ได้แก่ การซักประวัติและตรวจร่างกาย นอกจากประวัติเกี่ยวกับการจ็บป่วยและประวัติส่วนตัวแล้วควรชักประวัติการใช้ยาอย่างละเอียดเพราะอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุมาพบแพทย์ได้
ข้อควรคำนึงถึงในการตรวจร่างกายผู้สูงอายุการจับชีพจรและวัดความดันโลหิตควรปฏิบัติทั้งท่านังและท่านอนเพื่อประเมินภาวะ Postural hypotension ความผิดปกติที่พบบ่อย
Parrkinsonism, ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยกว่าปกติ ซีดและซึมศรา การตรวจร่างกายแต่ละระบบ ควรปฏิบัติดังนี้
1.
ตา
ควรตรวจความคมชัดของการมองเห็น
2.
หู
ตรวจการได้ยิน
3.
คอ
ตรวจ Range of motion
4.
หัวใจ
ฟังเสียง murmur ซึ่งพบได้บ่อย
5.
ปอด
ทรวงอกอาจขยายตัวลดลง ถ้าลองให้หายใจลึกๆ หรือไอ 2-3 ครั้ง แล้วหายไปอาจมีภาวะ Atelectasis
6.
เต้านม
คลำหาก้อนผิดปกติเสมอ
7.
ด้านหลัง
อาจมีปัญหากระดูกสันหลังหัก
8.
หน้าท้อง
คลำหา Full bladder เสมอ
9.
เท้า
อาจมีแผลเรื้อรังจากเบาหวาน เล็บยาวม้วน
10.
ระบบประสาท
ตรวจ Get-up-and-go test
2.การประเมินสุขภาพจิต(Mental assessment)
เป็นการประเมินว่าผู้สูงอายุมีปัญหาด้านสุขภาพจิตและจิตเวชหรือไม่ปัญหาสุขภาพจิตที่พบบ่อย คือ ปัญหาบุคลิกภาพที่ปรับตัวยากวิตกกังวล ซึมเศร้า การประเมินสุขภาพจิตควรใช้ครื่องมือที่ได้มาตรฐานต่างๆ
3.การประเมินด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม(Social assessment)
ประเด็นที่ต้องประเมิน คือ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ฐนะทางศรษฐกิ สังคม และสิ่แวดล้อมเนื่องจากผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความสำคัญอย่างมากโดยเฉพาะผู้สูอายุที่พิการหรือช่วยเหลือตนเองได้น้อย ควรประเมินตั้งแต่แรกรับไว้ในการดูแล การให้ผู้ดูแลผู้สูอายุมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาตั้งแต่วันแรกที่ผู้ป่วยเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาล
4. การประเมินค้นความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน(Functional assessment)
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
4.1
ความสามารถในครปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน: ดัชนีบาร์เรลเอดีแอล (Barthel ADL Index)
4.2
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่ต้องใช้อุปกรณ์ (Instrumental ADL)