Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 - Coggle Diagram
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน
ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล
ด้านร่างกาย
ด้านความรู้
ด้านคุณธรรม
มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยแลัพลเมืองโลก
ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมาหกษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีความรู้และทักษะพื้นฐาน
เจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษา
การประกอบอาชีพ
การศึกษาตลอดชีวิต
เชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้
พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
หลักการ
เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ
เป็นหลักสูตรการศึกษาเพือปวงชน
เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจให้สังคมมีส่วนร่วม
เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยิดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา การจัดการเรียนรู้
เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
จุดมุ่งหมาย
มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง
มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ไขปัญหา การใช้เทคโนโลยี
มีสุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี สุขนิสัย รักการออกกำลังกาย
มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการสื่อสาร
การรับและส่งสาร
ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก
ความสามารถในการคิด
การคิดวิเคราะห์
การคิดสังเคราะห์
การคิดอย่างสร้างสรรค์
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ
มีหลักเหตุผล
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การทำงาน
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เลือกใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ซื่อสัตย์สุจริต
มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง
มุ่งมั่นในการทำงาน
รักความเป็นไทย
มีจิตสาธารณะ
สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชพีและเทคโนโลยี
ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานการเรียนรู้
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล
คำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดชั้นปี
เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาคบังคบ
ตัวชี้วัดช่วงชั้น
เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน
การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
เพื่อตัดสินผลการเรียน
แบ่งออกเป็น 4 ระดับ
ระดับชั้นเรียน
ระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ระดับชาติ