Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาการวืทยา(Symptomalogy) - Coggle Diagram
อาการวืทยา(Symptomalogy)
ความผิดปกติของสติสัมปชัญญะ (consciousness )
Confusion
สับสนงุนงง เสียการรู้เวลา สถานที่และบุคคล
เป็นการบอกไม่ได้หรือบอกไม่ตรงตามความจริง
clouding of consciousness
เลือนลาง เซื่องซึม
Fluctuation of conscious
สติสัมปชัญญะ ไม่คงที่เปลี่ยนแปงในช่วงเวลาของวัน
Delirlium
เพ้อ
เชาวนปัญญา (Intelligence)**
Mental retardation (ปัญญาอ่อน)
ปัญญาออนระดับไม่รุนแรง (Mild) มี IQ 50 ถึง 70
ปัญญาออนระดับปานกลาง (Moderate)มี IQ 35 ถึง 49
ปัญญาออนระดับรุนแรง (Severe) มี IQ ต่ำกว่า 20 ถึง 34
ปัญญาออนระดับรุนแรงมาก (Profound) คือมี IQ ต่ำกว่า20
เทียบตามอายุ
IQ :
idiot คือมีสติปัญญาความสามารถนอยกว่าเด็กปกติอายุ 3 ปี
imbercile คือมีสติปัญญาความสามารถเท่ากับเด็กปกติอายุ 3 ถึง 7 ปี
moron คือมีสติปัญญาความสามารถเท่ากับเด็กปกติอายุ 8 ปี 2
Dementia (สมองเสื่อม) คือการเสื่อมของเชาวน์ปัญญาโดยที่ไม่มี่ไม่มี clouding of consciousness และการเสื่อมดังกล่าวมีสาเหตุทางรางกาย
การหยั่งรู้และตัดสินใจ (Insight and Judgement)
Insight
ผู้ป่วยรับรู้และเข้าใจสภาพความเป็นจริงของปัญหาเข้าใจว่าตนเองป่วย แต่ไม่สามารถประยุกต์สิ่งที่เข้าใจเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้เรียกว่า Intellectual insigh
ผู้ป่วยไม่เข้าใจสภาพความเป็นจริงของปัญหาหรือสภาพการณ์นั้น ๆ ไม่เข้าใจและไม่ยอมรับว่าตนเองมีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นและไม่ยอมรับการรักษาเรียกว่า Impaired insight/poor insight
ผู้ป่วยรับรู้และเข้าใจปัญหาของการเจ็บป่วยมีแรงจูงใจและมีความพยายามที่จะแก้ไขปัญหาตามสภาพความเป็นจริงหรือเข้ารับการรักษาเรียกว่า True or emotional insight
ทราบว่าตนเองป่วย แต่โทษว่าเกิดจากผู้อื่น ปัจจัยภายนอกหรือโรคทางกาย (externai locus of control)
คิดว่าตนอาจป่วยหรือผู้ป่วยรับรู้สภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเองเพียงผิวเผิน แต่ก็ปฏิเสธความเจ็บป่วยในขณะเดียวกัน หรือคิดว่าไม่สามารถแก้ไขปัญหาการเจ็บป่วยนั้นได้เรียกว่า Basic insight
ทราบว่าตนเองป่วยและต้องการการช่วยเหลือ แต่ไม่ทราบว่าเกิดจากอะไรหรือมีสาเหตุมาจากไหน
Judgement
การที่ผู้ป่วยไม่เข้าใจสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและไม่สามารถตัดสินใจในสถานการณ์นั้น ๆ ได้เรียกว่า Impair judgement
การที่ผู้ป่วยตัดสินใจการกระทำไปอย่างอัตโนมัติทันทีต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งเรียกว่า Automatic judgement
การที่ผู้ป่วยสามารถประเมินและสามารถตัดสินใจในสถานการ ณ์วิกฤตได้เรียกว่า Critical judgement