Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) - Coggle Diagram
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ข้อมูลผู้ป่วย
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล : ผื่นกำเริบ ทั้งตัว ปวดกระดูก ก่อนมาโรงพยาบาล 2 เดือน
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
6 ปีก่อนมาโรงพยาบาล ได้รับการวินิจฉัย Psoriasis (โรคสะเก็ดเงิน) ได้รับการรักษาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลกรุงไทยและสถาบันโรคผิวหนัง
2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล ซื้อยาสเตอรอยด์ มาทา ผื่นกำเริบทั้งตัว ปวดกระดูก ร่วมมีไข้
ความหมาย
โรคผิวหนังเรื้อรังที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันมีความบกพร่องทำให้เซลล์ ผิวหนังกำพร้าแบ่งตัวเร็ว
พยาธิสภาพ
โรคสะเก็ดเงินเป็นโรคทางระบบภูมิคุ้มกันซึ่งเกิดขึ้นในผู้ที่มีพันธุกรรมที่มีโอกาสเกิดโรคอยู่แล้ว เมื่อได้สิ่งกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจากภายนอก จะเกิดการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันทั้ง Innate และ adaptive immune response และเกิดภาวะภูมิคุ้มกันไวเกินชนิดที่ 4 มีการหลั่ง cytokines ชนิด T type-1 และ T type-17 ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผิวหนังตามมา
พันธุกรรม
สะเก็ดเงินชนิดที่ไม่มีความสำคัญกับ HLA (Human Leukocyte Antigen) โดย T lymphocyte ถุกกระตุ้นจากปัจจัยบางอย่าง และกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันชนิด T helper type 1 ให้ทำงานมากกว่าปกติ มีการหลั่ง Cytokine หลายชนิดเพื่อกระตุ้น T helper 17 cell ซึ่งจะหลั่งสารหลายชนิดเช่น Interleukin17 (IL17),IL22,IL23,Tumor necrotic factor alpha จะก่อให้เกิดการอักเสบเรื้อรังของผิวหนัง และการแบ่งตัวเร็วมากกว่าปกติของ Keratinocytes
Keratinocyte
ในโรคสะเก็ดเงินมีการแบ่งตัวของ Keratinocyte เพิ่มขึ้น
สาเหตุ
พันธุกรรม
Type II psoriasis (Late onset psoriasis)
ความรุนแรงของโรคน้อยกว่า
ไม่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรค
ผู้ป่วยที่เริ่มเกิดโรคเมื่ออายุมากกว่า 40 ปี
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกเมื่อ 6 ปีที่แล้ว อายุ 42 ปี
Type I psoriasis (Early onset psoriasis)
ผู้ป่วยที่เริ่มเกิดโรคเมื่ออายุน้อยกว่า 40 ปี
ความรุนแรงของโรคมาก
มีประวัติครอบครัวเป็นโรค
ปัจจัยภายนอกกระตุ้น
การติดเชื้อ
HIV
streptococcal Infection
ความเครียด
การบาดเจ็บ
การแกะเกา
การระคายเคืองที่ผิวหนัง
การทาโลชั่นบางชนิดหรือยาที่มีความระคายเคือง
ภาวะไหม้แดด
อากาศเย็นและแห้ง
ยา
Lithium
Beta-adrenergic antagonists
angiotensin-coverting enzyme inhibitors
antimalarials
nonsteroidal anti-inflammatory agents
แคลเซียมในเลือดต่ำ
สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ ภาวะอ้วน
การวินิจฉัยโรค
ซักประวัติ
ผื่นที่ผิวหนังเป็นเรื้อรังอาจจะมีอาการคันหรือไม่มีอาการคัน
บางรายมีประวัติครอบครัวเป็นโรคสะเก็ดเงิน
ผื่นอาจกำเริบได้ภายหลังภาวะการติดเชื้อหรือการได้รับยาบางชนิด เช่น lithium, antimalaria, beta-blocker, NSAIDS และ alcohol
ข้ออักเสบ ปวดบวม แดง ร้อน
ตรวจร่างกาย
ตรวจเลือด
ตรวจพิเศษต่างๆ
อาการและอาการแสดง
ผื่นที่ผิวหนัง
Psoriasis vulgaris หรือ Chronic plaque type psoriasis
ผื่นนูนแดงขอบชัดปกคลุมด้วยสะเก็ดสีเงิน
Guttate Psoriasis
ผื่นนูนแดง ขนาดเล็ก
Erythrodermic psoriasis
ผื่นแดงที่มีสะเก็ดเป็นบริเวณกว้างทั่วลำตัว
บริเวณแขนสองข้าง หน้าอก เป็นลักษณะผื่นแบบ Erythrodermic psoriasis
Inverse or flexural psoriasis
ผื่นสะเก็ดเงินอยู่ที่บริเวณ รักแร้ ขาหนีบ ใต้ราวนม มักอยู่บริเวณที่มีการเสียดสี
Oral mucosa psoriasis
Pustular Psoriasis
ผื่นสะเก็ดเงินที่มีลักษณะเป็นผื่นแดง มีตุ่มหนองที่ไม่มีเชื้อโรค
บริเวณ หลัง ขา และเท้า เป็นผื่นโรคสะเก็ดเงินชนิด pustular psoriasis
ความผิดปกติของเล็บ
ความผิดปกติของข้อ
การรักษา
Topical therapy
Anthralin (dithranol)
Tar
Topical vitamib]n D3 analogues
Corticosteroid
0.1%TA Cream
BID
Tacrolimus
Pimecrolimus
สารให้ความชุ่มชื้น
10%urea cream
การฉายแสง
การใช้ยาแบบ systemic therapy
Methotrexate
Cyclosporine
Acitretin
ยาฉีดกลุ่มชีวโมเลกุล(Biologic agent)
ภาวะแทรกซ้อน
โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน(Psoriatic arthritis)
R/O รอผล film
โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Rheumatoid arthritis
แพทย์ Consult Rhumatoid เรื่องปวดสะโพก
Crohn's disease
Ulcerative colitis
Hodgkin'slymphoma
Cutaneous T-cell lymphoma