Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาจารย์ที่ปรึกษากับนิสิตในยุคออนไลน์, กล้องโน๊ตบุคพัง - Coggle Diagram
อาจารย์ที่ปรึกษากับนิสิตในยุคออนไลน์
วิธีการสื่อสารออนไลน์ที่อาจารย์ใช้
อัพโหลดเสียงลง Powerpoint
WebEx
Facebook
line
Line
ทำ diary น่ารัก ๆ มาส่งทาง online
google form
โทรศัพท์
Quizizz
Zoom
Fipgrid
google form
google meeting
Google Drive
Mentimeter
กระทู้ใน SWU moodle
ใช้โปรแกรมอัดหน้าจอ Notebook
microsoft team
อุปสรรคของอาจารย์มีอย่างไรบ้าง
ต่างวัยต่างต่างเทคโนโลยี
ต้องใช้เวลาเตรียมนานกว่าสอนปกติ
ความพร้อมของอุปกรณ์
Notebook พัง ต้องซื้อใหม่
Low technology
ปัญหาความเครียดในการเตรียมตัว
การกระตุ้นให้นิสิตสนใจเรียนตลอดคาบ
ืต้องไป upram โน๊ตบุค
สัญญาณอินเตอร์เน็ตมีปัญหา
นั่งหน้าคอมนานมีผลต่อสุขภาพร่างกาย
ต้องทำงานดึกมาก เพราะมีเสียงรบกวนในเวลาปกติ
ต้องให้ลูกหลับแล้วถึงจะมาทำ
ต้องถอยไมค์ และไฟไลฟ์สด
เสียงเราดังรบกวนเพื่อนบ้าน
อัดแล้วอัดอีก พูดอยู่คนเดียว เหนื่อย
นิสิตไม่กล้าสื่อสารกับอาจารย์ในกลุ่ม
ใช้เวลาในการเตรียมสื่อทั้งการตัดต่อมาก
เหมือนคนบ้า พูดอยู่คนเดียวทั้งตอนอัดและสอน
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์เสริมการสอน
ข้างบ้านซ่อมบ้าน มีเสียงเข้าตลอด น้ำตาจะไหล
อุปกรณ์ติดขัดระหว่างอัดเสียงหรือภาพ
อาจารย์พักอยู่ห้องทำงานรวม เป็นอุปสรรคสำคัญในการเตรียมสอนและสอนออนไลน์ ต้องหาห้องว่างในการสอนทุกครั้ง
ใช้เวลามากในการตัดต่อ แยกคลิปย่อยต่างๆ
ภาระงานที่เพิ่มจากกการเตรียมสอนออนไลน์ ทำให้กระทบภาระงานด้านอื่นๆ มาก
ต้องมีการปรับเปลี่ยนเวลาในการใช้ชีวิต และเพิ่มวันทำงานในการตัดต่อวีดีโอในวันหยุดราชการ
นิสิต Interpret ข้อมูลยากเพราะเรียน basic ไม่แน่นจากการสอนออนไลน์
อินเตอร์เนตของนิสิตที่หอพักช้า ทำให้การตอบคำถามดีเลย์ ส่งผลต่อการสื่อสารระหว่างนิสิตและอาจารย์
สถานที่ต้องอำนวยกับการทำคลิป
ไม่สนุกกับการพูดคนเดียว
อินเตอร์เนตของนิสิตที่หอพักช้า ทำให้การตอบคำถามดีเลย์ ส่งผลต่อการสื่อสารระหว่างนิสิตและอาจารย์
นิสิตคิดอย่างไรกับการสื่อสารออนไลน์
อินเตอร์เนตที่หอพักนิสิตช้า ทำให้เกิดความผิดพลาดการสื่อสารระหว่างนิสิตและอาจารย์
นิสิตมีการทิ้งเพื่อนที่เรียนอ่อนหรือไม่เก่ง ไม่เอาเข้ากลุ่มด้วย ด้วยกระบวนการสอนของอาจารย์
ให้คะแนนส่วน teamwork และแจ้งให้นิสิตทราบก่อน
ออกแบบการแบ่งกลุ่มนิสิต ให้เหมาะสมกับรูปแบบการพัฒนานิสิต เช่นเปิดโอกาสให้นิสิตความสามารถระดับเดียวกันอยู่ด้วยกัน
สร้างช่องทางให้นิสิตทุกคนได้แสดงความคิดเห็น เช่น post it , think-pair-share,
สุ่มเลือกคนตอบ นำเสนอ แทนการส่งตัวแทนออกมานำเสนอ
อาจารย์ที่ปรึกษานิสิตสังเกต ออกแบบการพัฒนานิสิต และการมอบหมายงานให้นิสิตได้ focus กับประเด็นที่พัฒนา เช่น มอบหมายให้สอน
ปลูกฝังการให้เกียรติกัน การเคารพบุคคลอื่น
ให้ formative assessment ที่ไม่ผูกกับคะแนน
การ feedback นิสิตที่เหมาะสม เน้นการกระตุ้นให้พัฒนา เช่น positive stroke โดยการชื่นชมก่อนการตำหนิ
การใช้ game-base learning โดยเน้นความสนุกสนาน เน้นการชื่นชม การ reflextion หรือ feedback ที่ไม่ตำหนินิสิต
นิสิตต้องใช้เวลานานกว่าปกติเพื่อทำความเข้าใจในสื่อวีดีโอการสอนของอาจารย์ ทำให้กินเวลาพักผ่อนของนิสิต
อาจารย์จะรับมือกับการสื่อสารออนไลน์อย่างไรดี
รูปแบบกิจกรรมที่น่าสนใจในการพัฒนานิสิต
ต้องคิดกิจกรรมที่หลากหลาย
ทำคลิปให้เวลาเหมาะสม กับการเรียนรู้ของนิสิต
วิธีการสอนและการทำสื่อออนไลน์ให้น่าสนใจ
เรียนรู้การทำสื่อให้น่าสนใจ ปรับเสียง ใส่หน้าคนสอน เช่น zoom ทำclip สั้นๆ เพิ่ม mode tone of voice , facial expression , มีการเคลื่อนไหวบนจอ เช่น 3D structure
ออกแบบการเรียนที่ให้นิสิตมีส่วนร่วมโดยนิสิตไม่ถูกบังคับ ให้รางวัล
เรียนรู้วิธีการทำสื่อออนไลน์เพิ่มเติมอย่างมาก
พยายามสอนและใช้เทคนิคให้เป็น Two way communication มากขึ้น
การส่งเสริมความผู้พันของนิสิตต่อคณะผ่านการสื่อสารออนไลน์
กระตุ้นนิสิตบ่อยมากขึ้น อธิบายกิจกรรมให้ชัดเจน
เรียนไประยะหนึ่ง จะสอบถามปัญหานิสิต และปรับตัวร่วมกันระหว่างอาจารย์และนิสิต
ต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าขณะสอน
อาจารย์รู้สึกอย่างไร
ท้าทาย
เครียด
หนักเหลือเกิน
งานไม่ทัน
อยากสอนแบบปกติแล้ว
ฟังอาจารย์อยู่หรือเปล่าน๊อ
ได้มีความรู้ IT เพิ่มขึ้นอีกเยอะเลย
อยากเจอตัวจริงดีกว่า
ตื่นเต้น
แรกๆตื่นเต้น ตอนนี้เพลียกับการทำคลิปเหลือเกินนนน
กลัวนิสิตเรียนไม่รู้เรื่อง
ต้องวางแผนงาน
เด็กๆสนุกสนานในช่วงแรก
ทำไมเด็กดูไม่ขำกับมุกออนไลน์ของเรา
นิสิตได้ทบทวนง่ายขึ้น
รู้สึกเหมือนตนเองเป็นดีเจ
หรือจะไปขายของออนไลน์ดี
ขาดการโต้ตอบแบบทันทีทำให้ขาดบรรยากาศ
รู้สึกว่าเนื้อหาแม่นยำเพราะผ่านการกรองมาดีแล้ว
รู้สึกตื่นเต้น เพราะต้องเตรียมตัวเยอะ
รู้สึกปวดตา เคืองตา นอนไม่พอ เสียสุขภาพหลายอย่าง
ทำงานไม่ได้ตามเป้าหมาย เพราะต้องทำงานแทรกที่เร่งด่วนกว่า
รู้สึกต้องปรับตัวกระทันหัน
ปวดคอ บ่า ไหล่ มากกกกก
เหมือนเราสื่อสารทางเดียว ไม่รู้ว่าเข้าใจหรือไม่ นิสิตบอกเข้าใจ แต่ความเป็นจริงไม่เข้าใจ
รู้สึกว่านิสิตไม่กล้าถาม ไม่กล้าตอบ
ต้องแต่งตัวสวยในช่วงเวลาใกล้จะนอน เพราะต้องอัดคลิป กลัวนิสิตตกใจหน้าอาจารย์
รู้สึกดีขึ้น เครื่องมือทำให้ติดต่อกับนิสิตได้ดีขึ้น
ทำให้สะดวกขึ้นในการติดต่อกับนิสิต ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของเวลา สามารถติดต่อกันได้ตลอด
การเตรียมตัวของอาจารย์ในการสอนมากขึ้น
ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และมีความสะดวกมากขึ้น
นิสิตไม่response หรือน้อยลง
กล้องโน๊ตบุคพัง
ใช้เวลาแต่งหน้านานขึ้น