Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สิทธิ จริยธรรม เเละจรรยาบรรณวิชาชีพ, นางสาวปาลิตา โอสถวิสุทธิ 61105540…
สิทธิ จริยธรรม เเละจรรยาบรรณวิชาชีพ
สิทธิ
เด็ก
ปฏิญาสากล
เด็กและเยาวชน ที่พิการทั้งทางร่างกาย สมอง และจิตใจ มีสิทธิที่จะได้รับการรักษาพิเศษ
เด็กและเยาวชน พึงได้รับความมั่นคงทางสังคมและเติบโตอย่างสมบูรณ์
เด็กและเยาวชน พึงได้รับความรักและความเข้าใจ
เด็กและเยาวชน มีสิทธิที่จะได้มีชื่อและมีสัญชาติแต่กำเนิด
เด็กและเยาวชน จะเป็นบุคคลแรกที่ได้รับการคุ้มครองและสงเคราะห์ในทุกกรณี
เด็กและเยาวชน พึงได้รับสิทธิเท่าเทียมกัน
เด็กและเยาวชน มีสิทธิที่จะได้รับการศึกษา
เด็กและเยาวชน พึงได้รับการพิทักษ์คุ้มครองเป็นพิเศษ
เด็กและเยาวชน พึงได้รับการปกป้องให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง ความโหดร้ายทารุณ
อนุสัญญา
สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
สิทธิในการอยู่รอด
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิในการมีส่วนร่วม
มนุษยชน
หลัก 6 ประการ
ประชาชนทุกคนมีสิทธิของตนเองเพราะทุกคนล้วนเป็นมนุษย์
สิทธิมนุษยชนเป็นสากล หลักการสิทธิมนุษยชนใช้กับทุกคนทั่วโลกได้เหมือนๆกัน
มนุษย์ทุกคนต้องได้รับการปกป้องคุ้มครองสิทธิของตน
สิทธิมนุษยชนห่อหุ้มด้วยหลักการพื้นฐานของมนุษยภาพ (Humanity)
ทุกชาติต้องรับผิดชอบส่งเสริมและเคารพในสิทธิมนุษยชน
ได้รับการปฏิบัติกับทุกคนเหมือนกัน (Treated the Same) ทุกประการ แต่สิทธิมนุษยชนปฏิบัติ กับทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน (Treated Equally) และให้ "โอกาส" แก่ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน
ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจะต้องเรียนรู้เรื่องสิทธิมนุษยชน
นโยบาย โครงการ และปฏิบัติการด้านสุขภาพต่างๆ รวมทั้งการวิจัยเชิงคลินิกอาจจะละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยไม่ได้ตั้งใจ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนมักจะมีผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพของปัจเจกชนและกลุ่มชนด้วย
การส่งเสริมสิรินุษยชในปัจจุบัน สมารถข้าใจได้ว่าเป็นสารัตถะสำคัญของความพยายามในการส่งเสริมและปกป้องสุขภาพสาธารณะ
ผู้ป่วย
หากมีการละเมิด
พยาบาล
จะต้องมีการพักงาน
ผู้ป่วยมีสิทธิขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่นที่มิได้เป็นผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน
มีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพหรือเปลี่ยนสถานพยาบาลได้
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลของตนเอง เพื่อประโยชน์โดยตรงของผู้ป่วยหรือตามกฎหมาย
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบชื่อ สกุล และวิชาชีพของผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน
ผู้ป่วยมีสิทธิขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่นที่มิได้เป็นผู้ให้การรักษาพยาบาลแก่ตน
มีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพหรือเปลี่ยนสถานพยาบาลได้
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้เข้าร่วมหรือผู้ถูกทดลอง
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วย
เด็กอายุยังไม่เกินสิบแปดปีบริบูรณ์
ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต
ผู้ป่วยที่ขอรับการรักษาพยาบาลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลที่เป็นจริงและเพียงพอเกี่ยวกับการเจ็บป่วย การตรวจ การรักษา ผลดีและผลเสียจากการตรวจ
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน
เว้นแต่ในกรณีฉุกเฉิน อันจำเป็นเร่งด่วนและเป็นอันตรายต่อชีวิต
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียน
ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการรักษาพยาบาลและการดูแลด้านสุขภาพตามมาตรฐานวิชาชีพจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
พยายาล
ในฐานะพยาบาลเเละมนุษย์คนหนึ่ง
สมาคมพยาบาลเเห่งมิชิเเกน
มีสิทธิที่จะถอนตัวออกจากสถานการณ์ทีก่อให้เกิดความขัดเเย้งกับความรู้
สถาบันจะต้องจัดสรรอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพให้เพียงพอ
มีสิทธิเเละความรับผิดชอบในการสร้างสภาพเเวดล้อมให้เหมาะเเก่การสร้างเสริมสุขภาพ
หน่วยงานที่ทำงานต้องให้ความเคารพเชื่อถือต่อความรู้ ความสามารถของพยาบาล
มีความรับผิดชอบที่จะต้องให้ราายละเอียดเกี่ยวกับสถาบัน ความสามารถ
ฟาจินเเละปูเลน
มีสิทธิที่จะสร้างรูปเเบบความสัมพันธ์กับผู้ป่วยตามสมควร
พยาบาลมีสิทธิที่จะเข้าใจเเละยอมรับความรู้สึกของตนเอง
พยาบาลมีสิทธิที่จะดำรงไว้ซึ่งศักดิ์เเละการการเเสดงออกของตนเอง
พยาบาลมีสิทธิที่จะพ้นจากสภาพการทำงานที่มีผลต่อการบั่นทอนสุขภาพอนามัยของตน
การประกอบวิชาชีพ
สิทธิในการตัดสินใจให้บริการด้วยตนเอง
สิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติตอบอย่างเป็นธรรม
สิทธิในการประกอบวิชาชีพภายในขอบเขตของตนอย่างอิสระโดยไม่คํานึงถึงเวลา สถานท่ี
บทบาทพยาบาล
การเสริมสร้างเอกภาพ
เอกสิทธิ์ของวิชาชีพสำหรับพยาบาล
เอกสิทธิ์การประกอบวิชาขีพตามกฎหมาย ปฏิบัติการพยาบาลตามที่กฎหมายกำหนดอย่างเป็นอิสระและด้วยความรับผิดชอบในการกระทำ
สิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติจากผู้ร่วมงานในฐานะมนุษย์และผู้ประกอบวิชาชีพอย่างเท่าเทียม
สิทธิในการรับเลือกเข้าทำงานหรือดำรงตำแหน่งโดยชอบตามหลักคุณธรรมจริยธรรม
สิทธิที่จะได้รับข้อมูลข่างสารที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในส่วนที่เกี่ยวข้อง
สิทธิจะได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เหมาะสมกับภาระหน้าที่
สิทธิที่จะได้รับสวัสดการที่พัก ความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิต
สิทธิที่จะรวมตัวกันเป็นสหพันธ์ผู้ประกอบวิชาชีพ
ธำรงรักษาไว้ซึ่งสิทธิในการตัดสินใจเลือกสรรผู้แทน ผู้บริหารองค์กรทุกระดับโดยมิควรให้มีการแทรกแซงโดยผู้อื่น
สิทธิในการการฟ้องร้อง ร้องเรียน ขอความเป็นธรรมได้ตามกฎหมาย หากได้รับการปฎิบัติที่มีชอบและไม่เป็นธรรม
บทบาทผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต่อผู้ป่วย
การสนองต่อสิทธิพื้นฐานที่จะรับบริการด้านสุขภาพ
สิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยมีการเลือกปฏิบัตินั้น
สิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอในด้านบริการสุขภาพ
ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลจะต้องมีบทบาทในการช่วยเหลือผู้ป่วย
ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต้องแสดงข้อมูลบ่งชี้ ชื่อ สกุล ตำแหน่ง และคุณวุฒิของตนเองแก่ผู้รับบริการ
จริยธรรม
การตัดสินเชิงจริยธรรม
ขั้นที่ 4 ให้ความหมายกับแนวคิดทางจริยธรรมของบุคคลและของวิชาชีพ
ขั้นที่ 5 ระบุแนวคิดทางจริยธรรมของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 6 ระบุความขัดแย้งในคุณค่า
ขั้นที่ 7 กำหนดว่าใครควรเป็นผู้ตัดสินใจ
ขั้นที่ 2 เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อทำความเข้าใจกับสถานการณ์ให้ชัดเจน
ขั้นที่ 8 ระบุแนวทางปฏิบัติและผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
ขั้นที่ 1 ทบทวนสถานการณ์เพื่อกำหนดปัญหาทางด้านสุขภาพความต้องการการตัดสินใจองค์ประกอบทางจริยธรรมและบุคคลที่มีความสำคัญและเป็นหลักในการตัดสินใจ
ขั้นที่ 9 ตัดสินใจและลงมือปฏิบัติ
ขั้นที่ 10 ประเมินผลและทบทวนผลลัพธ์จากการตัดสินใจและการปฏิบัติ
จริยธรรม
การกระทำเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นสำคัญ
การกระทำเพื่อหลีกเลี่ยงสาเหตุหรือป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น
การกระทำด้วยความซื่อสัตย์ตามพันธะสัญญาของวิชาชีพ
การกระทำต่อผู้ป่วยเเละครอบครัวด้วยความยุติธรรม
การบอกความจริงกับผู้ป่วย
จรรยาบรรณวิชาชีพ
จรรยาบรรณ
ข้อที่ 1 พยาบาลรับผิดชอบต่อประชาชนผู้ต้องการการพยาบาล และบริการสุขภาพพยาบาลรับผิด
ข้อที่ 2 พยาบาลประกอบวิชาชีพด้วยความเมตตากรุณา เคารพในคุณค่าของชีวิต ความมีสุขภาพดีและความผาสุกของเพื่อนมนุษย์
ข้อที่ 3 พยาบาลมีปฏิสัมพันธ์ทางวิชาชีพกับผู้ใช้บริการ ผู้ร่วมงาน และประชาชนด้วยความเคารพในศักดิ์ศรี และสิทธิมนุษยชนของบุคคล
ข้อที่ 4 พยาบาลยึดหลักความยุติธรรม และความเสมอภาคในสังคมมนุษย์
ข้อที่ 5 พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศ
ข้อที่ 6 พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการ
ข้อที่ 7 พยาบาลรับผิดชอบในการปฏิบัติให้สังคมเกิดความเชื่อถือไว้วางใจต่อพยาบาล และต่อ
ข้อที่ 8 พยาบาลพึงร่วมในการทำความเจริญก้าวหน้าให้แก่วิชาชีพการพยาบาล
นางสาวปาลิตา โอสถวิสุทธิ 61105540 Section 1 กลุ่ม 1 เลขที่ 21