Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 แรงจูงใจ และการจูงใจ - Coggle Diagram
บทที่ 7 แรงจูงใจ และการจูงใจ
ความหมายของการจูงใจและแรงจูงใจ คือสภาวะที่อยู่ภายในตัวที่เป็นพลังทำให้ร่่างกายมีการเคลื่อนไหว เพื่อให้คนได้ปฏิบัติงานโดยแรงจูงใจจะเป็นกระบวนการภายในจิตใจ
การจูงใจมีองค์ประกอบ 3 ประการ
การตอบสนองต่อแรงขับดังกล่าว
รักษาระดับของพฤติกรรม
ความพยายามหรือตัวกระตุ้น
ทฤษฎีการกำหนกเป้าหมาย
การใช้กรอบเพื่อจูงใจในการบริการงาน
เป้าหมายคือเครื่งมือ เพื่อการควบคุประสิทธิผล
ประเภทของแรงขับและแรงจูงใจ
แรงจูงใจทุติยภูมิ
แรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์
แรงจูงใจใฝ่อำนาจ
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
แรงจูงใจส่วนบุคคล
แรงขับปฐมภูมิ
ทฤษฎีอีอาร์จีของแอลเดอเฟอร์
ความต้องการที่ยังคงอยู่ ความต้องการตอบสนองด้วยปัจจัยทางวัตถุ
ความต้องการด้านความสัมพันธ์ เป็นความสัมพันที่ตอบสนองได้ด้วยการแลกเปลี่ยนความคิด
ความต้องการด้านความงอกงาม ความต้องการส่วนบุคคล ในการได้ใช้ความรู้ทักษะเพื่อทำงานอย่างเต็มที่
ทฤษฎีปัจจัยคู่ของเฮอร์ซเบอร์ก
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจในงาน
ความสำเร็จ, การได้รับการยอมรับ, ความก้าวหน้า, ตัวงาน, เพื่อนร่วมงาน, ผู้บังคับบัญชา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดความไม่พึงพอใจในงาน
สัมพันธภาพกับผู้บังคับบัญชา, สัมพันธภาพกับเพื่อนร่วมงาน, นโยบายบริษัท
ทฤษฎีความต้องการของแมคเคล็ลแลนด์
ความต้องการความรักใคร่ผูกพันธ์
ความต้องการมีอำนาจ
ความต้องการความสำเร็จ
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
มนุษย์ทุกคนมีความต้องการต้องแต่เกิดจนตาย
ความต้องการเหล่านั้นจัดลำดับจากขั้นพื้นฐานถึงความต้องการขั้นสูง
ต้องการได้รับยกย่องนับถือ คือการต้องการความนับถือยกย่องจากผู้อื่น ต้องการให้คนอื่นเห็นคุณค่า
ความต้องการทางสังคม เป็นคนต้องการท่จะมีเพื่อน มีคนที่เรารักไว้วางใจและรักเรา
ความต้องการด้าความมั่นคงปลอดภัย คือ ต้องการทำงานที่มีความมั่นคง และมีความปลอดภัยให้กับชีวิต
ความต้องการที่จะสมหวังในชีวิต เป็นความต้องการที่มีคุณค่ามากที่สุดที่มีความสมบูรณ์
ความต้องการทางด้านร่างกาย คือ การดูแลในเรื่องค่าตอบแทน
การจูงใจกับการเกิดพฤติกรรม
พฤติกรรมบางอยากอาจถูกจูงใจให้กระทำโดยไม่ทราบถึงเป้าหมายที่แท้จริง
กระบวนการจูงใจจะทำให้เกิดพฤติกรรม ที่ไม่ถาวร และเปลี่ยนแลงได้ตลอดเวลา
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะต้องมีแรงจูงใจเสมอ
การจูงใจภายนอกและภายใน
การจูงใจภายนอก เป็นการจูงใจที่เกิดจากปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่เกี่ยวกับงานซึ่งผู้อื่นเป็นคนกำหนด
การจูงใจภายใน เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างงานกับผู้ทำงาน
การปรับงานหรือการออกแบบงาน เป็นการประยุกต์แนวคิดจากทฤษฎีจูงใจมาใช้ในการบริหารจัดการ
ความแตกต่าง
แรงขับหรือแรงจูงใจ คือแรงพื้นฐานที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เมื่อเกิดความต้องการขึ้น แรงดังกล่าวจะทำหน้าที่ในการกระตุ้นหรือรบกวนให้ร่างกายเกิดพฤติกรรมที่จะนำไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ
ทฤษฎีการจูงใจ : ทฤษฎีเชิงกระบวนการ เพื่อจะช่วยให้ทราบว่าแรงจูงใจมนุษย์เกิดขึ้นได้อย่างไไรและทำไมจึงเป็นเช่นนี้
ทฤษฎีx และทฤษฎี y ของแมคแกรเกอร์
ความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
เพราะคนเป็นเช่นนี้จึงจำเป็นต้องใช้วิธีบังคับควบคุม
โดยทั่วไปคนชอบทำงานตามคำสั่งมีความปรารถนา
ปกติมนุษย์จะมีนิสัยไม่่ชอบทำงาน
สมมุติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
ความสามารถในการใช้จินตนาการ
สติปัญญาของมนุษย์ถูกนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรม
โดยทั่วไปบุคคลจะเรียนรู้ที่จะยอมรับต่องานที่ต้องรับผิดชอบ
การที่บุคคลจะผูกกับงานขึ้นอยู่กับค่าตอบแทน
กการควบคุมจาภายนอกและการขู่
การใช้ความพยายามทั้งกายและใจ
ทฤษฎีความคาดหวัง
เกิดจากความเชื่อ 3 ประการ
ความเป็นเครื่องมือหรือตัวการ
ความมีคุณค่าที่คู่ควรกับผลลัพธ์
ความคาดหวัง