Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการสอนคณติศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษา - Coggle Diagram
หลักการสอนคณติศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษา
ธรรมชาติของคณติศาสตร์
การคำนวณ การคิด และการแก้ปัญหา
ความเป็นเหตุเป็นผลโดยใช้สัญลักษณ์
นามธรรมและมีขอบเขตกว้างขวาง
เกี่ยวข้องกับตัวเลข สัญลักษณ์ สมบัติ ปริมาณ ขนาด รูปทรง และความสัมพันธ์
สิ่งที่มีเหตุมีผล และสามารถพิสูจน์ได้
ศาสตร์แห่งความรู้ที่เป็นระบบ มีโครงสร้างและแบบแผนที่ชัดเจน
เป็นสากล สามารถใช้งานได้อย่างกว้างขวาง
ลักษณะการสอนคณติศาสตร์
ลักษณะของเด็กประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี)
พัฒนาการด้านร่างกาย
ความแตกต่างของน้ำหนักส่วนสูงชัดเจน
การเจริญเติบโตของร่างกายจะช้ากว่าเด็กอนุบาล
เด็กหญิงที่ร่างกายเจริญเติบโตเร็วจะมีปัญหาทางการปรับตัว
ผู้ชายมีพัฒนาการทางด้านกล้ามเนื้อ กระดูกดีกว่า
การประสานระหว่างมือและตาของเด็กวัยนี้จะดีขึ้น
เด็กวัยนี้ชอบทำกิจกรรม
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ขั้นแฝงที่มีความต้องการทางเพศสงบลง
เด็กวัยนี้จะมีมโนธรรม รู้จักว่าอะไรผิดอะไรถูก
ความต้องการทางเพศยังคงอยู่ แต่เปลี่ยนแปลงเป็นพลังงานอย่างอื่น
มีความต้องการที่จะทำกิจกรรมอยู่เสมอ
ต้องการมีศักยภาพที่จะทำอะไรได้สำเร็จ
ถ้าเด็กวัยนี้ประสบกับความล้มเหลวจะมีปมด้อย มีอัตมโนทศัน์ที่ไม่ดี
พัฒนาการทางเชาว์ปัญญา
เด็กชายมีความสามารถคิดเหตุผลเชิงตรรกะได้ สามารถที่จะรับรู้สิ่งแวดล้อมได้ตามความเป็นจริง สามารถที่จะพิจารณา เปรียบเทียบโดยใช้เกณฑ์ หลายๆ อย่าง
มีความเข้าใจความคงตัวของปริมาตร
สามารถเปรียบเทียบ สิ่งของว่ามากกว่า ใหญ่กว่า ยาวกว่าเข้มกว่า
เด็กจะสามารถจัดลำดับได้
พัฒนาการทางด้านภาษาและการใช้สัญลักษณ์เจริญก้าวหน้ามาก
เด็กจะนับถือกฏเกณฑ์อย่างเคร่งครัด
พยายาม ส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนพฒันาตามศักยภาพของตน
พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม
เด็กบางคนยังมีความกลัวสัตว์ กลัวความมืด กลัวความสูง กลัวฟ้าร้อง ฟ้าผ่า
กลัวว่าจะถูกล้อเพราะความแตกต่างกับเพื่อน
มีความวิตกกังวลเรื่องการเรียน
การแสดงอารมณ์โกรธจะแตกต่างกันในหมู่เด็กหญิงและเด็กชาย
ลักษณะการสอนคณิตศาสตร์ระดับช้ันประถมศึกษา
การตั้งคำถาม
การให้ข้อเสนอเเนะในการพูดคุยในการเรียนคณิตศาสตร์
การรอคำตอบ
การให้ภาระงานที่ซับซ้อน
การแสดงถึงวิธีการแก้ปัญหา
มาตรฐานของครูคณิตศาสตร์
มุมมองที่สำคัญต่อที่จะสนับสนุนพัฒนา
วิธีการที่จะพัฒนาความรู้ ความเข้าใจและทักษะทางคณิตศาสตร์
วางแผน
เลือกและใช้ทรัพยากรทางคณิตศาสตร์
ชี้นำให้ผู้เรียนใช้ภาษา และวิธีการให้เกิดปฏิสัมพันธ์
ตระหนักถึงจุดร่วมระหว่างความคลาดเคลื่อน มโนมติที่ คลาดเคลื่อน และวิธีการที่จะป้องกนัและแก้ไข
ประเมินและประเมินผลการเรียนรู้
ตระหนักถึงมาตรฐานของความสำเร็จ
ยกระดับความน่าสนใจ ความกระตือรือล้น
กรอบการสอนคณติศาสตร์
The Statutory Framework for the Early Years Foundation Stage (EYFS)
ประเภทที่ 1 สำคัญ (prime)
การสื่อสารและภาษา
การพัฒนาทางกายภาพ
การพัฒนาทางอารมณ์ สังคม และบุคคล
ประเภทที่ เจาะจง (specific)
วาทกรรมทางคณิตศาสตร์
เนื้อหาคณิตศาสตร์
ความเข้าใจต่อโลก
การออกแบบและการแสดงออกซึ่งศิลปะ
หลักการสอนคณติศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษา
การสอนและการเรียนรู้ (teaching and learning)
สร้างเป้าหมาย
ให้ภาระงาน
การใช้และการเชื่อมโยงรูปแทนทางคณิตศาสตร์
ส่งเสริมวาทกรรมทางคณิตศาสตร์ที่มีความหมาย
กำหนดคำถามที่ตรงวัตถุประสงค์
ความคล่องแคล่ว
สนับสนุนการแบ่งปัน
การพินิจอย่างลึกซึ้ง
การเข้าถึงและความเสมอภาค (access and equity)
หลกัสูตร (curriculum)
มวลประสบการณ์ทั้งหมดที่นักเรียนต้องเรียน
สิ่งที่จะสอน วิธีการสอน
มโนมติทางคณิตศาสตร์
เครื่องมือและเทคโนโลยี (tool and technology)
การประเมิน (assessment)
การทดสอบ
การให้เกรด
ความเป็นมืออาชีพ (professionalism)
ครูต้องแสวงหาวิธีการพัฒนาอย่างมืออาชีพ
ครูมีประสิทธิภาพ