Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 ความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ, นางสาวอารีย์ …
บทที่ 5 ความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
นำความรู้และทักษะที่เป็นประโยชน์ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
เข้าใจถ่องแท้ในเรื่องของความรู้และทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
ตระหนักในเรื่องของความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
ความรู้และทักษะที่ครูจำเป็นต้องมีแก่นแท้ของความรู้และทักษะ
ความรู้ของผู้เรียนและรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน
ความรู้ในข้อปฏิบัติของโรงเรียน
ความรู้เกี่ยวกับตนเอง
การพัฒนาทางด้านวิชาชีพ
การประเมินตนเอง
การเป็นผู้ให้คำปรึกษา
ความรู้ในวิธีการสอน
การสอนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีขึ้น
การสอนเพื่อให้เกิดการคิด
ความรู้ในหลักการ
การตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ
การศึกษาค้นคว้า
การแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
ความรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอน
ความรู้เกี่ยวกับตนเอง
ความรู้เกี่ยวกับตนเองคือการรู้จัก เชื่อมั่นและจริงใจต่อตนเอง ครูต้องรู้จักคุณค่าและความสามารถของตนเองจะสามารถประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ได้ ครูต้องมีความชัดเจนในสิ่งที่ครูต้องการซึ่งทำให้ครูมีความรับผิดชอบ เกิดการพัฒนาทางด้านอาชีพรู้จักประเมินตนเองมีความตั้งใจที่จะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จได้
การเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับตนเอง
การประเมินตนเอง
การรู้จักประเมินความก้าวหน้าและคุณค่าของตนเองจะช่วยให้ครูปิบัติต่อผู้อื่นได้ดีขึ้น
ครูจึงควรประเมินเจตคติของตนนเองเป็นระยะเพื่อพัฒนารูปแบบในการตัดสินใจและปฏิบัติ
ครูยังต้องประเมินความรู้ความสามารถและความมีประสิทธิภาพของตนเอง ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อการตัดสินใจ ความพยายามและเวลาที่ครูจะต้องทำกิจกรรม
การเป็นผู้ให้คำปรึกษา
มีแผนการเป็นผู้ให้คำปรึกษาและการเป็นผู้รับคำปรึกษาช่วยพัฒนาตนเอง การเป็นผู้ให้ คำปรึกษาจะต้องเป็นไปตามข้อปิบัติของโรงเรียนซึ่งสอดคล้องกับนโยบายและกระบวนการต่าง ๆแนวคิดของการเป็นผู้ให้คำปรึกษาช่วยให้ครูสามารถตรวจสอบกระบวนการคิดการตัดสินใจในส่วนของการวางแผนหลักสูตรการเรียนการสอน
การพัฒนาทางด้านวิชาชีพ
การพัฒนาทางด้านวิชาชีพ การพัฒนาตนเอง การฝึกอบรมและการพัฒนาทักษะล้วนช่วยปรับปรุงทักษะและความคิดของครูให้ดีขึ้นได้ทั้งสิ้น ปัจจุบันนีเทคฌนฌลยีได้เข้ามามีบทบาททำให้การเรียนการสอนแตกต่างออกไปจากเดิม การพัฒนาตนเองของครูเป็นเครื่องบ่งบอกถึงคุณภาพ
ครูจึงจำเป็นต้องเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้หลายประเทศจำต้องปรับเปลี่ยนเป้าหมายการเรียนการสอนเพื่อให้ทันต่อยุคสมัยที่เปลี่ยนไป
ความรู้ในหลักการ
การแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
ความรู้ในเรื่องของการแก้ปัญหาเป็นสิ่งที่สำคัญมาก กรเป็นครูที่มีประสิทธิภาพครูต้องแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม การรู้กระบวนการแก้ปัญหาช่วยสร้างทางเลือกในการแก้ปัญหาได้หลายทาง และต้องอาศัยการตัดสินใจอย่างมีปะสิทธิภาพเพื่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์ที่ใช้ได้ผลที่สุดสำหรับครู
การศึกษาค้นคว้า
ความรู้ในเรื่องทฤษฎีทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจัยจะช่วยนำครูไปสู่การปฏิบัติที่ดีที่สุดได้ รวมไปถึงการค้นคว้าจากสื่อการเรียนการสอนในห้องสมุด
การตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ
ครูต้องสำรวจตนเองเพื่อประเมินค่าคุณสมบัติในการเป็นครูของตัวครูเอง คิดค้นแนวคิดใหม่และสำรวจว่าครูจะสามารถนำความรู้ในเชิงปฏิบัติไปปรับใช้ในการสอนของครู เพื่อสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอน
คามรู้เนื้อหาวิชาที่จะสอน
ครูกับความรู้เป้นสองสิ่งที่เชื่อมโยงกันเสมือนเป็นพจนานุกรมและหนังสืออ้างอิงเคลื่อนที่ การจะสอนให้ดีได้นั้นครูต้อทำความเข้าใจกับความรู้เพื่อให้ก้าวทันต่อยุคสมัยที่เปลี่ยนไปสามารถนำความรู้ที่่มีอยู่ไปประยุกต์ใช้และจะต้องเตรียมพร้อมการตอบข้อสงสัยของผู้เรียน
ความรู้ในวิธีสอน
มีวิธีการสอน วิธีจัดการกับพฤติกรรมและระเบียบวินัยและวิธีการที่ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ดี
การสอนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น
การสอนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้เป็นการศึกษาที่จะดำเนินการสอนอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ในการเรียน ความรู้ในการสอน กลยุทธ์ในการสอน วิธีสอน หลักการในการสอนและรูปแบบการสอน
ผู้เรียนแต่ละคนต่างมีพรสวรรค์และความสามารถที่แตกต่างกัน ครูจึงจำเป็นต้องเตรียมการสอนที่เหมาะสมสำหรับผู้เรียนเพื่อให้เขาได้แสดงศักยภาพออกมาได้อย่างเต็มที่โดยผ่านทางกลยุทธ์การเรียนการสอนในรูปแบบที่ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การสอนเพื่อให้เกิดการคิด
การคิดคือกระบวนการในการตัดสินใจ การคิดวิเคราะห์ การคิดเชิงอนาคต การคิดเชิงเปรียบเทียบ การคิดเชิงตอบสนอง การคิดเชิงวิจารย์ การคิดสร้างสรรค์และการคิดเชิงโน้มน้าว ผู้เรียนจึงต้องเรียนรู้ที่จะปฏิบัติมากกว่าที่จะเรียนแต่ทฤษฎี
ผู้เรียนต้องรู้จักวิธีที่จะแปลงความรู้และเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ที่มี ระบุถึงปัญหาและหาหนทางแก้ไขปัญหาได้ การสอนให้ผู้เรียนรู้จักคิดจะช่วยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนรู้จักรับข้อมูลนำข้อมูลที่ได้รับมาสร้างสรรค์ใหม่
การออกแบบการสอน
องค์ประกอบ
สิ่งที่ได้จากการเรียน
การนำความสามารถที่มีอยู่มาใช้
กลยุทธ์ในการสอน
การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน
การวิเคราะห์ตนเอง
การประเมินผล
คำอธิบาย
เน้นในสิ่งที่ครูต้องการให้ผู้เรียนสามารถกระทำได้ภายหลังจากเสร็จการสอน
สร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมจากความรู้ที่ผู้เรียนมีอยู่แต่เดิม
สอนโดยอธิบายแนวคิดที่ซับซ้อนให้เป็นเรื่องที่สามารถเข้าใจได้ง่ายโดยใช้สื่อการสอน เช่น แผนผังแนวคิด เจตคติตัวอย่งประกอบที่มาจากสถานการณ์จริง
ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อพัฒนาความคิดและความร่วมมือระหว่างกันสอนให้ผู้เรียนแก้ไขปัญหาและการปภิปรายกลุ่ม
ให้โอกาสผู้เรียนได้ตั้งคำถาม เช่น ทำไมพวกเราต้องทำเช่นนี้ เป็นวิธีที่ถูกต้องใช่หรือไม่มีทางเลือกที่ดี สามารถตรวจสอบคามก้าวหน้าของตนเองและแยกแยะระหว่างสิ่งที่ใช้ได้กับสิ่งที่ใช้ไม่ได้อย่างไร
แก้ไขผิดพลาดของผู้เรียนเพื่อไม่ให้เกิดความเข้าใจที่ผิดๆประเมินผลการสอนของตัวเองโดยสังเกตจากผลที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียน
กลยุทธ์ในการเรียนการสอนซึ่งสัมพันธ์กับรูปแบบการสอน สิ่งที่ได้รับจากการเรียนและสภาพแวดล้อมในกานเรียน
กลยุทธ์ในการเรียนการสอน
การสอนการนำเสนอ
การเรียนรู้โดยตรง
การสอนแนวคิด
การสอนความร่วมมือ
การรู้จากปัญหา
การอภิปรายในห้องเรียน
รูปแบบการสอน
ครูเป็นศูนย์กลาง
ครูเป็นศูนย์กลาง
ครูเป็นศูนย์กลาง
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติ
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติ
สิ่งที่ได้รับจากการเรียน
การค้นคว้าและการเก็บรักษาความรู้
การอธิบายทักษะและข้อเท็จจริงทั้งที่ซับซ้อนและไม่ซับซ้อน
กระบวนการจัดประเภทและหมวดหมู่
การแลกเปลี่ยนความรู้กัน , การสร้างองค์ความรู้ , การเรียนรู้ร่วมมือกัน , การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน
การแลกเปลี่ยนความรู้กัน , การสร้างองค์ความรู้ , การแก้ปัญหา , การเรียนรู้การร่วมมือกัน , การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน
การแลกเปลี่ยนความรู้กัน , การสร้างองค์ความรู้ , การเรียนรู้การร่วมมือกัน , การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน
สภาพแวดล้อมในการเรียน
วางโครงสร้าง ,เรียนรู้แบบท่องจำ
กึ่งวางโครงสร้าง , เรียนรู้แบบท่องจำและฝึกปฏิบัติ
มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน , มีกิจกรรมที่ได้รับการแนะนำ , เรียนรู้แบบฝึกปฏิบัติ , เข้าร่วมกิจกรรมและมีปิสัมพันธ์ระหว่างกัน , ทำงานเดี่ยว
มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน , มีกิจกรรมที่ได้รับการแนะนำ , เรียนรู้แบบฝึกปฏิบัติ , เข้าร่วมกิจกรรมและมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน , ทำงานเดี่ยว
แนวทางที่จำเป็นในการสร้างบรรยากาศที่ทำให้เกิดการคิด
รูปแบบการตั้งคำถามของครู
การตั้งคำถามเป็นเครื่องมือทางจิตวิทยาประการหนึ่งที่กระตุ้นให้เกิดการคิดเนื่องจากต้องอาศัยกระบวนการที่เอื้อต่อการสร้างปฏิสัพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกันและระหว่างครูกับผู้เรียน กระบวนการถามตอบจะช่วยให้ครูสามารถสังเกตกระบวนการคิดของผู้เรียนเพื่อดูว่าพวกเขาตั้งใจเรียนหรือไม่
รูปแบบการตอบคำถามของครู
รูปแบบการตอบคำถามของครูอาจเป็นได้ทั้งช่วยสร้างและขัดขวางบรรยากาศที่ทำให้เกิดการคิด
การเป็นต้นแบบในด้านพฤติกรรมการคิดของครู
ผู้เรียนแต่ละคนมีแนวโน้มที่จะเลียนแบบพฤติกรรมของคนที่พวกเขา เคารพและชื่นชม ครูจึงต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้เรียนในด้านพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการคิด
ระดับของการคิดตามการจัดกลุ่มของ Bloom และกระบวนการเรียนรู้
ระดับของการคิด
ธรรมดาระดับต่ำกว่า
กระบวนการคิดการคิดพื้นฐาน
รวบรวมข้อมูลการคิดเชิงตอบสนองและการคิดอย่างลึกซึ้ง
ซับซ้อนระดับสูงกว่า
กระบวนการคิด
แสดงความคิดอย่างจริงจังและตรวจสอบงานที่ทำอย่างมีเหตุมีผล (การคิดเชิงวิจารณ์)
การคิดเชิงปฏิบัติ - สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆที่แปลกไปจากเดิมเช่นในส่วนของวิธีการ ระบบหรือแนวคิด (การคิดเชิงสร้างสรรค์)
การจัดกลุ่มของ Bloom
ธรรมดาระดับต่ำกว่า
ความรู้ - จัดเรียงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบเดียวกันกับที่ได้นำเสนอไว้
ความเข้าใจ - สามารถนำข้อมูลมาใช้ได้โดยไม่จำเป็นต้องเข้าใจความเกี่ยวเนื่องทั้งหมด
ซับซ้อนระดับสูงกว่า
การประยุกต์ใช้ - สามารถใช้สื่อที่เรียกในสถานการณ์ที่แตกต่างกันได้
การวิเคราะห์ - สามารถทำความเข้าใจกับองค์ประกอบแต่ละส่วนของสื่อได้
สามารถแบ่งแยกข้อมูลออกเป็นกลุ่มย่อยได้
การสังเคราะห์ สามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆได้ , รวบรวมหลักฐานต่างๆเข้าด้วยกันได้ , เชื่อมโยงองค์ประกอบต่างๆเข้าด้วยกันเพื่อสร้างโครงสร้าง
การประเมินผล - การตัดสินใจ
กระบวนการเรียนรู้
ธรรมดาระดับต่ำกว่า
รับข้อมูล
เก็บรักษาข้อมูล
นำข้อมูลมาใช
ซับซ้อนระดับสูงกว่า
เปลี่ยนข้อมูลเป็นรหัส
สร้างข้อสรุป
เชื่อมโยงความรู้ที่สัมพันธ์กัน
สร้างสรรค์ข้อมูลใหม่ๆ
ความรู้ของผู้เรียนและรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน
ความแตกต่างและหลากหลายของผู้เรียนเป็นเรื่องท้าทายที่ครูต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การวิเคราะห์ตัวผู้เรียนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการเรียนการสอน
แนวทางที่จำเป็นในการสร้างบรรยากาศที่ทำให้เกิดการคิด
แนวทางของครู
เปิดใจให้กว้าง
เป็นผู้ฟังอย่างตั้งใจ
มีเหตุผล
อดทนและอดกลั้น
ให้กำลังใจผู้เรียน
เต็มใจที่จะเรียนรู้ไปเรื่อย
ส่งเสริมผู้เรียน
มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี
แนวทางของผู้เรียน
ไม่กลัวที่จะสร้างปฏิสัมพันธ์
ชอบซักถาม
สร้างแรงจูงใจให้แก่ตนเอง
ถาม ถามและถาม
ไม่คาดหวังที่จะให้ครูเป็นผู้ป้อนข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว
เป็นผู้เรียนที่มีใจจดจ่อลึกซึ้ง
รับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง
รู้จักควบคุมตนเอง
แนวทางโดยรวม
ค้นหาความจริง
เปิดกว้างต่อคำตอบที่แตกต่างกันออกไป
พิสูจน์ข้อโต้แย้งด้วยข้อเท็จจริง
ยอมให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้
พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงทัศนคติเมื่อมีเหตุผลสบับสนุน
สร้างการเปลี่ยนแปลงในการเรียนการสอน
ยึดถือข้อเท็จจริง
ให้ผู้เรียนได้สัมผัสการเรียนการสอนในบรรยากาศใหม่ๆ
รูปแบบการตั้งคำถามของครู
ถามผู้เรียนคนละหนึ่งคำถามต่อหนึ่งครั้ง
ท้าทายความคิดของผู้เรียน
มีระดับความยากที่ต่างกัน
กำหนดอัตราความเร็วในการถามให้เหมาะสม
ตั้งคำถามแบบปลายเปิดโดยใช้คำถามในแบบของโซเครดิส
ให้เวลาแก่ผู้เรียนในการตอบคำถาม
ก่อให้เกิดการตอบสนองต่อผู้เรียน
ไม่สร้างสถานการณ์ที่กดดันให้ผู้เรียนต้องตอบคำถาม
การเป็นต้นแบบในด้านพฤติกรรมการคิด
มีส่วนร่วมกับผู้เรียน
ทำให้ผู้เรียนมั่นใจว่าพวกเขาจะได้รับการสนับสนุนและช่วยเหลือ
หาทางแก้ปัญหาอย่างสุขุมรอบคอบเมื่อผู้เรียนประสบปัญหา
กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดและคิดซ้ำ
แสดงความกระตือรือร้นในสิ่งที่ผู้เรียนสนใจ
เข้าใจระดับสติปัญญาของผู้เรียนแต่ละคน
แสดงความเห็นอกเห็นใจผู้เรียน
ให้คำเเนะนำแก่ผู้เรียน
ใส่ใจต่อผู้เรียน
การวิเคราะห์ผู้เรียน
สิ่งที่จำเป็นต้องคำนึงถึง
มีปัญหาเกี่ยวกับการดึงดูดความสนใจ
ความจำสั้น
มีปัญหาในการอ่านและการเขียน
มีปัญหาในด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
มีปัญหาในการทำงานให้สำเร็จลุล่วง
ไม่สามารถนำข้อมูลมาใช้ได้
มีความตั้งใจสั้น
ไม่เต็มใจให้ความร่วมมือ
มีปัญหาในการแสดงออก ใช้ภาษาและการเขียน
ขาดความรับผิดชอบและความมานะอุตสาหะ
สิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นขั้นรอง
ความสามารถระหว่างบุคคล : ให้ข้อมูลเสนอ แสดงความไม่เห็นด้วยและหาข้อสรุป
ระดับของทักษะ : ความชำนาญ ความถูกต้องแม่นยำและวิธีการพูด
สิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นพื้นฐาน
ภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคม
ชาติพันธุ์ / วัฒนธรรม
เพศ
ความสามารถ
อายุ
ศาสนา
บุคลิกภาพ
สิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นขั้นแรก
ด้านทัศนคติ : การนับถือตนเอง คุณค่า ระดับของความทะเยอทะยานและการสร้างแรงจูงใจ
รูปแบบการเรียนรู้ : เรียนรู้โดยใช้สมองคิดตรึกตรองและประมวลข้อมูล
ด้านการเรียนรู้ : ระดับความสามารถในการเรียนรู้และการคิด
สิ่งที่ต้องคำนึงถึงโดยทันที
ขีดความสามารถ
กลยุทธ์ในการเรียน
การกำหนดรูปแบบการเรียนรู้
รูปแบบการเรียนรู้คือกลุ่มของลักษณะทางพฤติกรรมที่แตกต่างกัน ซึ่งสัมพันธ์กับรูปแบบการเรียนรู้ การคิด การจำ การทำความเข้าใจกับแนวคิดที่เข้าใจยากการแก้ปัญหาแต่ละบุคคล การตีความทางสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ ทางสังคมทางจิตวิทยา
รูปแบบการเรียนรู้ลักษณะนิสัยของผู้เรียนยังคงมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และมีความสำคัญต่อการเลือกวิธีการสอนตลอดจนสื่อการเรียนการสอนเพื่อสร้างสรรค์การเรียนรู้ที่ได้ผลดีที่สุด
หลักการสำหรับรูปแบบการเรียนรู้
การปรับรูปแบบการสอนให้สอดคล้องกับรูปแบบการเรียนรู้จะช่วยให้ครูสามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคนให้ถึงขีดสุดได้
รูปแบบการเรียนรู้นั้นสัมพันธ์กับการคิดโดยตรง
การที่แต่ละคนจะเรียนรู้ ได้รับความรู้ คิด รับทราบและประมวลผลข้อมูลได้นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ขึ้นอยู่กับอายุ
องค์ประกอบที่ใหม่ที่สุดของรูปแบบการเรียนรู้ คือ การใช้สมองซึ่งมีส่วนสำคัญโดยตรงต่อการเรียน
ผู้เรียน วัตถุประสงค์และการวิเคราะห์ผลงานล้วนเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่ต้องคำนึงถึงในส่วนของการวางแผนการเรียนการสอนทั้งหมด
รูปแบบการเรียนรู้ได้เปลี่ยนแปลงไปจากแนวคิดแบบเก่าซึ่งให้ครูเป็นศูนย์กลางในการเรียนการสอน มาเป็นการให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแทน
รูปแบบการเรียนรู้นั้นสัมพันธ์กับจิตวิทยาในเรื่องความแตกต่างของแต่ละบุคคล
รูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน
รูปแบบการเรียนรู้และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือทางเลือดกที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนที่ได้รับการเรียนรู้ไม่เพียงพอจากที่โรงเรียนหลักสูตรการเรียนการสอนช่วยเปลี่ยนกลยุทธ์ที่ให้ครูเป็นศูนย์กลางมาเ็นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางได้
รูปแบบการเรียนรู้และการคิด การเรียนรู้มีความสัมพัน์กับคุณภาพในการคิดของผู้เรียนและการสอนของครูโดยตรง
รูปแบบการเรียนรู้และรูปแบบความเป็นเลิศของโรงเรียน กระบวนการเน้นที่ตัวผู้เรียนเพื่อช่วยให้โรงเรียนเป็นองค์ที่ดีเลิศ กระบวนการสำคัญเพื่อสร้างการศึกษาที่สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
รูปแบบการเรียนรู้และการศึกษาเพื่อผลักดันความสามารถที่มีอยู่ในตัวผู้เรียน
https://www.youtube.com/watch?v=OMJ1HKD5MPY
https://www.youtube.com/watch?v=oPuZVi-WHEY
บทสรุป
การสอนที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องอาศัยความสามารถของตัวครูเองในการที่จะประยุกต์ใช้ขอบเขตของความรู้และทักษะที่พึงมีได้ ครูจึงจำเป็นต้องใช้ความรู้เเละทักษะให้สัมพันธ์กับการสอนโดยครูต้องรู้จักตนเอง รู้จักตัดสินใจ รู้จักแก้ปัญหา รู้เนื่อหาที่จะสอน รู้วิธีการสอน
นางสาวอารีย์ ใบดิน รหัส 6220160458 กลุ่ม 6 เลขที่ 23