Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู ค่านิยม วินัย และปรัชญาเศรษฐกิจ -…
คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู ค่านิยม วินัย และปรัชญาเศรษฐกิจ
คุณธรรม
การพัฒนาคุณธรรม
การหลีกเลี่ยงไม่หลงมัวเมาอบายมุข
การมีความอดทน อดกลั้น ขยัน ประหยัดและรู้จักการให้อภัย
การมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง
การตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน
การสร้างความเป็นธรรมกับผู้เรียน
การมีความเสียสละและเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
การมีเจตคติที่ดีรักและศรัทธาอาชีพครู
การเห็นคุณค่าในความสามารถของผู้เรียน
การประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
การสร้างความรักและเป็นกัลยาณมิตรกับผู้เรียน
หลักคุณธรรมของครู
สังคหวัตถุ
อิทธิบาท
ความพึงพอใจ
ความเพียรขยันหมั่นเพียร
ความคิดตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทำ
เมตตา กรุณามุทิตา อุเบกขา
ฆราวาสธรรม
ความจริง ความซื่อสัตย์ และความจริงใจ
จรรยาบรรณวิชาชีพและความเป็นปูชนียบุคคล
ความอดทนตั้งหน้าทำหน้าที่การงานด้วยความขยันหมั่นเพียร
ความเสียสละการให้รู้จักละกิเลส
อริยธรรมมรรค
การเลี้ยงชีพชอบ
ความตั้งใจมั่นชอบ
การเพียรชอบ
การเห็นชอบ
การดำริชอบ
การพูดจาชอบ
การทำการงานชอบ
การเดินลึกชอบ
ความสำคัญคุณธรรม
การอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจ สุจริต
การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัจ
รักษาความสัจ ความจริงใจต่อตนเอง
การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริตและรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพื่อส่วนรวม
แนวทางการส่งเสริมคุณธรรมสำหรับครู
การเลียนแบบจากตัวแบบที่ดีเพื่อแนวโน้มให้ครูมีความกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติงาน
การรวมพลังกลุ่มกลุ่มครูที่มีแนวคิดและวางแผนปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ด้วยดี
ความหมายคุณธรรม
เป็นสภาพคุณงามความดี คุณธรรมเป็นลักษณะที่ดีงามหรือพฤติกรรมที่ปฏิบัติจนเป็นนิสัยและการที่บุคคลได้กระทำตามความคิดและมาตรฐานของสังคมในทางความประพฤติและจริยธรรม
เป็นคุณงามความดีที่เป็นธรรมชาติ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคม
จริยธรรม
ความหมาย
เป็นความถูกต้องดีงามสังคมทุกสังคมจะกำหนดกฎเกณฑ์กติกา
ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติศีลธรรมกฎศีลธรรม
การพัฒนาจริยธรรม
การวิเคราะห์ตนเอง
การฝึกตน
ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมาและไม่กระทำการเลี่ยงประมวลจริยธรรม
แนวทางการส่งเสริมจริยธรรมสำหรับครู
ส่วนที่ 1 มาตรฐานคุณธรรมและอุดมคติของครู
ส่วนที่ 2 มาตรฐานจริยธรรมของครู
หลักจริยธรรมสำหรับครู
ความรับผิดชอบเป็นความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความผูกพันความพากเพียรและความละเอียดรอบคอบ
ความซื่อสัตย์เป็นการประพฤติอย่างเหมาะสมและตรงต่อความเป็นจริง
ความมีเหตุผลเป็นความสามารถในการใช้ปัญญารู้จักไตร่ตรองไม่หลงงมงาย
ความกตัญญูกตเวทีเป็นความรู้สำนึกในอุปการคุณและบุญคุณ
ความมีระเบียบวินัยเป็นการควบคุมความประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องและเหมาะสม
ความเสียสละเป็นการละความเห็นแก่ตัว
การประหยัดเป็นการใช้สิ่งของพอเหมาะพอควรให้ได้ประโยชน์มากที่สุด
ความอุตสาหะเป็นความพยายามอย่างเข้มแข็ง
ความสามัคคีเป็นความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน
ความเมตตาและกรุณาเป็นความรักใคร่ปรารถนาจะให้ผู้อื่นมีสุข
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ความหมายจรรยาบรรณ
ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิกอาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้
ความหมายจรรยาบรรณวิชาชีพครู
มาตรฐานการปฏิบัติตนตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ 48 จรรยาบรรณของครูจึงเป็นพฤติกรรมหรือกิริยาอาการที่ผู้ประกอบวิชาชีพครูควรประพฤติปฏิบัติเพื่อให้เกิดความดีงามขึ้นแก่ตนเองและวิชาชีพครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู
ความสำคัญจรรยาบรรณวิชาชีพครู
เป็นแนวทางให้ผู้ประกอบวิชาชีพยึดถือปฏิบัติอย่างถูกต้อง
เพื่อให้วิชาชีพคุมฐานะได้รับการยอมรับและยกย่องจากสังคม
เพื่อผดุงเกียรติยศและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
ความสำคัญของจรรยาบรรณ
เพื่อให้สามารถอาศัยอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุขจึงต้องมีกฎกติกามารยาทของการอยู่ร่วมกันในสังคมที่เจริญแล้วเขาจะไม่มองแต่ความเจริญทางวัตถุการกำหนดจรรยาบรรณขององค์กรให้ชัดเจนทำให้มีภูมิคุ้มกันดีหลายองค์กรมีแนวทางจรรยาบรรณอยู่แล้ว
ที่มาของจรรยาบรรณวิชาชีพครู
รูปแบบทางศาสนาถ้าเป็นคำสั่งสอนหรือคติทำเพื่อยึดถือปฏิบัติเรียกว่า ศีลธรรม ถ้าเป็นลักษณะเชิงพฤติกรรมซึ่งมีอยู่ในตัวคุณแสดงออกมาจากตัวคนเรียกว่าคุณธรรม
รูปแบบในวงการวิชาชีพถ้าเป็นข้อกำหนดกฎเกณฑ์อันเป็นปทัสถานสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพนั้นๆถือปฏิบัติเรียกว่า จรรยาบรรณถ้าเป็นลักษณะเชิงพฤติกรรมที่มีอยู่ในผู้ประกอบวิชาชีพหรือแสดงออกมาจากตัวคุณเรียกว่า จรรยา
การพัฒนาปฏิบัติตนให้อยู่ในจรรยาบรรณวิชาชีพ
ความประพฤติปฏิบัติต่อวิชาชีพ
ศรัทธาต่อวิชาชีพ
ธำรงและปกป้องวิชาชีพ
พัฒนาองค์ความรู้ในวิชาชีพ
สร้างองค์กรวิชาชีพให้แข็งเเกร่ง
ร่วมมือในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพ
ความประพฤติปฏิบัติต่อผู้เรียน
ตั้งใจถ่ายทอดวิชาการ
รักและเข้าใจศิษย์
ส่งเสริมการเรียนรู้
ยุติธรรม
ไม่แสวงหาประโยชน์จากผู้เรียน
ทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี
ให้เกียรติผู้เรียน
อบรมบ่มนิสัย
ช่วยเหลือศิษย์
ความประพฤติปฏิบัติต่อตนเอง
ประพฤติชอบ
รับผิดชอบ
มีเหตุผล
ฝึกจิต
ใฝ่รู้
รอบคอบ
สนใจศิษย์
ความประพฤติปฏิบัติต่อสังคม
ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์
ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย
ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัย
ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์
ครูต้องรักและเมตตาศิษย์
ครูย่อมพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพ
ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลเพื่อนครู
ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำ
ค่านิยม
ประเภทของค่านิยม
ค่านิยมทางวัตถุ
ค่านิยมทางสังคม
ค่านิยมทางความจริง
ค่านิยมทางจริยธรรม
ค่านิยมทางสุนทรียภาพ
ค่านิยมทางศาสนา
แนวทางการส่งเสริมค่านิยมในวิชาชีพครู
การตระหนักในค่านิยมของความเป็นครู
เกียรติและศักดิ์ศรีของวิชาชีพครู
เป้าประสงค์ของวิชาชีพ
ความเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ
สถานภาพทางวิชาชีพ
ปัจจัยแวดล้อมสร้างค่านิยม
การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทางด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่ดีงาม
การประชาสัมพันธ์เพื่อโน้มนำให้ครูทุกระดับชั้นปฏิบัติตามจรรยาบรรณและค่านิยมที่ดีงามอย่างจริงจัง
การจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างค่านิยมที่ดีและคุณธรรมความเป็นครูในรูปแบบต่างๆ
การจัดให้มีการทบทวนชี้แจงด้านคุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพค่านิยมที่ครูควรปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
การประกาศเกียรติคุณยกย่องครูอาจารย์ที่มีความสามารถดีเด่นในด้านต่างๆ
การสอบบรรจุครูใหม่ควรมีการสอบความรู้เรื่องคุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและค่านิยมความเป็นครูด้วยทุกครั้ง
การวิจัยเพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรมเช็คพัสดุ
การจัดหาเอกสารเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านคุณธรรมในสถานศึกษาได้อย่างทั่วถึง
ถาบันวิชาชีพครูและองค์กรวิชาชีพครูต้องเร่งพัฒนาวิชาชีพครูให้มีความเจริญก้าวหน้า
รัฐจะต้องกำหนดนโยบายเพื่อการพัฒนาครูอย่างจริงจังและจริงใจ
ที่มาของค่านิยม
การปลูกฝังอุดมการณ์
การเห็นตามกัน
การศึกษาเล่าเรียน
การใช้กฎข้อบังคับ
การชักชวนจากบุคคลอื่น
ความนิยมตามยุคสมัย
การอบรมสั่งสอน
ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ความคิดและประสบการณ์
การพัฒนาค่านิยมของครู
ค่านิยมของบุคคลนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความประสงค์การอบรมสั่งสอนการศึกษาเล่าเรียนหรือการปลูกฝังอุดมการณ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งหรือหลายๆปัจจัยก็ได้เมื่อเป็นเช่นนี้ค่านิยมในวิชาชีพครูก็ย่อมเปลี่ยนแปลงได้
คุณลักษณะของค่านิยม
การยืนหยัดในค่านิยมที่ได้เลือกแล้วอย่างมั่นคง
การกระทำตามค่านิยมที่ได้เลือก
การให้คุณค่ายกย่องเทิดทูน
การกระทำซ้ำๆ
การเลือกหลังจากได้พิจารณาผลของแต่ละตัวเลือก
การเลือกจากหลายๆตัวเลือก
การเลือกอย่างเสรี
ความสำคัญค่านิยมของครู
ค่านิยมที่นักปราชญ์หรือบัณฑิตและสังคมส่วนใหญ่นิยมยกย่องว่าดีหากนำมาประพฤติปฏิบัติแล้วจะนำความเจริญก้าวหน้ามาสู่ตนเองและชาติบ้านเมือง
ความหมายค่านิยม
สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยกย่องว่าดีเห็นว่ามีคุณค่าที่ตนเองหรือสังคมควรยึดถือปฏิบัติจึงยอมรับนับถือมาเป็นแนวปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอหรืออย่างน้อยก็ช่วยระยะเวลาหนึ่ง
ความคิดพฤติกรรมและสิ่งอื่นที่คนในสังคมเห็นว่ามีคุณค่าจึงยอมรับมาปฏิบัติตามและหวงแหน ไว้ระยะเวลาหนึ่ง ค่านิยมมักเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยและความคิดเห็นของคนในสังคม
วินัย
ความสำคัญของวินัย
ที่มีต่อการศึกษาวินัยต่อประเทศชาติวินัยต่อตำแหน่งหน้าที่วินัยต่อผู้บังคับบัญชาวินัยต่อผู้เรียนวินัยต่อประชาชนวินัยต่อผู้ร่วมงานวินัยต่อตนเอง
คุณลักษณะของผู้ที่มีวินัยในตนเอง
ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคมมีความเชื่อมั่นในตนเองมีความตั้งใจจริงสามารถควบคุมอารมณ์ได้มีความอดทนตรงต่อเวลามีความรับผิดชอบมีความเป็นผู้นำ
ความหมายของวินัย
วินัยเป็นความคาดหวังของสังคมที่จะให้บุคคลประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ถูกที่ควรอันจะส่งผลให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองแก่ตนเองและสังคม
แนวทางส่งเสริมการสร้างวินัยสำหรับครู
ศึกษาสถาบันครอบครัวสถาบันการศึกษาสถาบันศาสนาสถาบันการเมืองและการปกครองควรมีส่วนช่วยในการกำหนดวินัยอย่างจริงจัง
การกำหนดวินัยควรปรับให้ทันสมัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและความเป็นนามธรรมคำนึงถึงรากฐานของความเป็นไทย
บุคคลทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็น บิดา มารดา ครู อาจารย์ เจ้านาย ต้องทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องความมีวินัย
ควรนำผลการวิจัยมาช่วยในการเสริมสร้างวินัย
ควรรณรงค์ให้มีการส่งเสริมวินัยในด้านต่างๆอย่างจริงจังโดยใช้สื่อต่างๆถ่ายทอดผ่านสื่อมวลชน
ควรลดการชี้แนะบังคับสั่งสอนและอบรมลงเพราะวินัยที่เกิดจากการบังคับควบคุมจากภายนอกมักไม่ถาวร
ควรเริ่มต้นส่งเสริมวินัยจากเรื่องที่ง่ายในชีวิตประจำวันก่อนแล้วจึงทำการปลูกฝังและฝึกวินัยของตนเอง
ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
นิยามความพอเพียง
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวหมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
ความมีเหตุผลหมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
ความพอประมาณหมายถึงความดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
แนวทางการส่งเสริมการ
3 คุณลักษณะ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ความมีเหตุผล
ความพอประมาณ
2 เงื่อนไข
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
การจัดการเรียนรู้กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมขยะทั้งในโรงเรียนและในชุมชนอย่างยั่งยืน
การอนุเคราะห์เกื้อกูลช่วยเหลือคนยากจนผู้ด้อยโอกาส
การจัดนิทรรศการการสาธิตและการยกตัวอย่างของความสำเร็จตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการเรียนการสอนและการสร้างองค์ความรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การระดมความคิดเห็นเรื่องการปรับปรุงหลักสูตรและระบบการเรียนการสอนตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการและการจัดระบบองค์กรความร่วมมือทางการเงินการผลิตการตลาด
การพัฒนาอาชีพสร้างรายได้เสริมด้วยประยุกต์ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การจัดการระบบพลังงานของโรงเรียนให้สามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น
การสร้างจิตสำนึกรักท้องถิ่นรักชุมชน
การสร้างจิตสำนึกพลเมืองรักชาติศาสน์กษัตริย์
การจัดทำแผนการเรียนรู้เน้นคุณธรรม 8 ประการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน