Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 3 การพยาบาลมารดาทารกหลังคลอดปกติ - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 3
การพยาบาลมารดาทารกหลังคลอดปกติ
จงสรุปการประเมินสุขภาพ
มารดาหลังคลอดด้วยหลักการ 12B
Background: การประเมินภูมิหลังของมารดาหลังคลอด การปรับตัวของมารดา
และสมาชิกในครอบครัวต่อสมาชิกใหม่
Body condition: การประเมินสภาวะทั่วไปของมารดาหลังคลอด
ลักษณะทั่วไปสีหน้าท่าทางอาการอ่อนเพลียความสุขสบายภาวะซีด
การอักเสบของหลอดเลือดดำการพักผ่อนนอนหลับความต้องการน้ำและอาหาร
Body temperature and blood pressure: ประเมินสัญญาณชีพหลังคลอด
24 ชั่วโมงแรกอุณหภูมิอาจสูง แต่ไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส เนื่องจาก reactionary fever
จะกลับสู่ภาวะปกติภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด แต่ถ้าอุณหภูมิสูงกว่า
หรือเท่ากับ 38 องศาเซลเซียสในวันที่ 2-3 หลังคลอดอาจเกิดการอักเสบติดเชื้อ
ชีพจรถ้าเร็วมากกว่าหรือเท่ากับ 100 ครั้งต่อนาทีอาจเนื่องจากมีภาวะแทรกซ้อน
เช่น ตกเลือดติดเชื้อขาดน้ำถ้าพบชีพจรเร็วร่วมกับความดันโลหิตต่ำอาจมีภาวะตกเลือด
ภาวะช็อคถ้ามีภาวะหายใจเร็วหรือผิดปกติอาจเกิดจากโรคหัวใจโรคระบบทางเดินหายใจ
หากพบความดันโลหิตต่ำกว่าปกติอาจเกิดorthostatic hypotension
Bladder: ประเมินการขับถ่ายปัสสาวะปัสสาวะที่เหลือค้างและภาวะกระเพาะปัสสาวะ
เต็ม มารดาหลังคลอดควรถ่ายปัสสาวะภายใน 6-8 ชั่วโมงหลังคลอดหากไม่ถ่ายปัสสาวะ
ภายในเวลาดังกล่าวควรพิจารณาสวนปัสสาวะเพราะการมีกระเพาะปัสสาวะเต็มจะไป
ขัดขางการหดรัดตัวของมดลูกส่งผลให้เกิดการตกเลือดหลังคลอด
Bleeding and lochia: การประเมินลักษณะและปริมาณน้ำคาวปลา
ระยะแรกน้ำคาวปลาจะมีกลิ่นคาวเลือดถ้าน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็นเน่าอาจเกิด
การติดเชื้อถ้ามีกลิ่นอับอาจเกิดจากการรักษาความสะอาดไม่ดีปริมาณน้ำคาวปลา
สามารถประเมินได้จากรอยซึมของน้ำคาวปลาบนผ้าอนามัย
Bottom: ประเมินฝีเย็บบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและทวารหนัก
ประเมินความเจ็บปวดอาการบวมและลักษณะการหายของแผลฝีเย็บอาการแสดงของ
การติดเชื้อบริเวณแผลฝีเย็บพยาบาลสามารถประเมินแผลฝีเย็บตามอาการแสตงที่
เรียกว่า“ REEDA "
Bowel movement: ประเมินการทำงานของลำไส้ในระยะ 1-2 วันแรกหลังคลอดมารดา
หลังคลอดมักมีอาการท้องอืดและท้องผถูกเนื่องจากลำไส้ยังทำงานได้ไม่ดีจึง
ควรมีการประเมินการทำงานของลำไส้โดยการฟัง bowel sound และการเคาะหน้าท้อง
Blues: ประเมินภาวะด้านจิตสังคมของมารดาหลังคลอด ได้แก่ การยอมรับบุตรการ
ปรับตัวในการดูแลบุตรการตอบสนองของบุตรการปรับตัวของมารดาการตำรงบทบาท
การเป็นมารดาปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวของมารดาหลังคลอดและครอบครัวรวมทั้ง
การปรับตัวของบิดวและสมาชิกอื่นในครอบครัวในระยะหลังคลอด
Bonding and attachment: ประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
และพฤติกรรมที่บ่งชี้ถึงสัมพันธภาพที่ไม่ดีระหว่างมารดากับทารก
12.มารดารายนี้เกิดกลไก
การสร้างและหลั่งแล้วหรือยัง
มารดาได้มีการสร้างและหลั่งน้ำนมแล้ว เนื่องจากการสร้างและการหลั่งน้ำนมต้องอาศัยฮอร์โมนอยู่ 2 ชนิดคือ Prolactin และ Oxytocin โดยการสร้างฮอร์โมน 2 ชนิดนี้จะถูกควบคุมจากประสาทสัมผัสของหัวนมขึ้นไปยังสมองส่วน Hypothalamus ที่กระตุ้นให้ Pituitary gland สร้างฮอร์โมนไปกระตุ้นการสร้างและการหลั่งของน้ำนมซึ่งในสถานการณ์นี้มีการสร้างและหลั่งน้ำนมแล้วเนื่องจากทารกมีการดูดนมและมีน้อำนมไหลออกมา แต่ใน 24 hr. หลังคลอดน้ำนมจะยังไหลน้อยเป็นภาวะปกติ
ระยะและส่วนประกอบน้ำนม
ในระยะ 2 วันหลังคลอด
ระยะหลังคลอดจนถึง 1-3 วันแรก (Colostrum) ประกอบด้วยสารสร้างภูมิต้านทาน ได้แก่ IgA, Lactoferrin, WBC และโปรตีน
15.ปัจจัยที่ทำให้มารดา
รายนี้มีน้ำนมไหลน้อย
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในระยะตั้งครรภ์ที่มีการเพิ่มขึ้นของ Estrogen, Progesterone Human Placenta Lacrogen ในการสร้างน้ำนม
ความเครียดและความปวดจากแผลฝีเย็บทำให้ร่างกายหลั่ง Cortisol มากกว่าปกติทำให้การไหลของน้ำนมช้ากว่าปกติ
การเตรียมมารดาพื่อให้
ทารกแรกเกิดได้รับน้ำนม
1.การกระตุ้นการสร้างน้ำนมของมารดาดังนี้
การได้รับน้ำและอาหารอย่างเพียงพอต่อการสร้างน้ำนม.
การนวดและประคบเต้านมด้วยความร้อนซึ่งจะช่วยกระตุ้นการ
ไหลเวียนโลหิตส่งเสริมให้น้ำนมไหลเร็วและมีปริมาณมากขึ้น
การดูแลช่วยเหลือและให้กำลังใจในการให้นมบุตรมีผลทำให้มารดามีน้ำนมหลั่งเร็วขึ้น
ขณะที่มารดาแจ้งว่าไม่อยากให้ลูกดูดนมสีเหลือง
พยาบาลจะให้คำแนะนำมารดารายนี้้อย่างไร
อธิบายให้มารดาเข้าใจถึงความสำคัญของน้ำนมเหลือง (Colostrum) ซึ่งมีส่วนประกอบของภูมิคุ้มกันสูง มีบทบาทในการการเจริญเติบโตและลดการยึดเกาะของแบคทีเรียในลำไส้ และระบบทางเดินหายใจให้เม็ดเลือดขาวจับกินได้ง่าย มีเอนไซม์ช่วยย่อยผนังเซลล์ของแบคทีเรียช่วยพัฒนาการเจริญเติบโตของผนังลำไส้ และเพิ่มการเคลื่อนไหวของลำไส้ ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดและไซโตไคน์ช่วยส่งสัญญาณเรียกเซลล์เม็ดเลือดขาวมารวมตัวกันบริเวณที่มีจุลชีพหรือสิ่งแปลกปลอมกระตุ้นให้มีการแบ่งตัวของเม็ดเลือด
16.หลักการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยแม่
เพื่อให้เกิดความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การประเมินลักษณะทั่วไปและความต้องการของมารดาและทารกเพื่อทราบถึง
ข้อจำกัดหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ได้แก่
ทัศนคติการทำงานและการลาการวางแผนเพื่อเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ให้ความรู้เข้าใจความเสี่ยงของการให้อาหารชนิดอื่นที่ไม่ใช่นมแม่กับทารก
ในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอดความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว
ผลเสียของการเลี้ยงลูกด้วยนมผสมการให้อาหารตามวัยควบคู่กับนมแม่
เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางญาติผู้มีอิทธิพลต่อมารดาและครอบครัวเข้าร่วม
ฟังการให้ความรู้และการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การกำหนดแนวทางปฏิบัติการช่วยเหลือการแก้ไขปัญหาเพื่อให้การสนับสนุน
ช่วยเหลือได้
การสอนอิฐบายในการจัดท่าให้นมทารกการจัดท่าให้นมทารกท่าอุ้มให้นม
ของมารดาในมารดาที่ขาตประสบการณ์หรือไม่เคยได้รับการฝึกทักษะเกี่ยวกับ
วิธีการอุ้มทารกที่ถูกต้องในการอุ้มหรีอนอนให้นมเพื่อให้ทารกสามารถอม
หัวนม ลานนมได้อย่างมีประสิทธิภาพลดการเกร็งของมารตาด้วยการอุ้ม
ท่าที่ไม่ถูกต้องจะทําให้้มารดารู้สึกสบายและผ่อนคลายในขณะเดียวกันสามี
หรือญาติจะเกิดความมั่นใจและสามารถช่วยเหลือมารดาได้โดยมีพยาบาล
เป็นผู้ให้กำลังใจและเสริมแรง
การจัดสิ่งแวดล้อมให้มารดาและทารกอยู่ด้วยกันตลอด 24 ชั่วโมงและแนะนำ
ให้มารดาให้ทารกดูดนมบ่อยตามต้องการคือประมาณวันละ 8-12 ครั้ง
หรือทุก 2-3 ชั่วโมง
การอธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับการดูดเกลี้ยงเท้าเพื่อให้ทารกได้รับน้ำนม
ส่วนหลังที่มีไขมันมากกว่าจะส่งผลต่อการเติบโตของทารกทำให้ทารกโตเร็ว
น้ำหนักขึ้นเร็วโดยให้นมซ้ำข้างเดิมก่อนทุกครั้งเป็นเวลา 10-20 นาที
หรือจนเต้านมนิ่มแล้วเปลี่ยนสลับไปดูดนมข้างใหม่
ภายหลังคลอด 45 นาที
พยาบาลนำทารกแรกเกิด
ไปดูดนมมารดาร
เหมาะสมเพราะการส่งเสริมให้นมแม่ครั้งแรกภายใน 1 ชม. แรกหลังคลอดเป็นสิ่งที่สำคัญและสามารถเพิ่มอัตราและระยะเวลาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้นานขึ้นและการทำ skin to skin ภายใน 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมงหลังคลอดโดยวางทารกบนหน้าอกของมารดาเพื่อความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ครั้งแรกช่วยสร้างสัมพันธ์ระหว่างแม่ลูก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลและวางแผนการพยาบาล
จากข้อมูลในระยะ 3 วันหลังคลอด
ช่วยให้แม่มีกำลังใจและเชื่อมั่นด้วยการอธิบายสาเหตุที่ทำให้หัวนมแตกและกลไกการดูดนมแม่ที่ถูกวิธีการจัดท่าที่ถูกวิธีที่จะทำให้แม่
ไม่เจ็บหัวนมอธิบายการเจ็บหัวนมขณะช่วยให้ลูกดูดนม
ประเมินเต้านมก่อนและหลังการให้นมเพื่อประเมินเต้านมว่าหัวนมสั้นบอร์ดแบนด์หรือไม่ประเมิน Tongue tie และวางแผนแก้ไข
สังเกตการณ์ดูดนมเพื่อประเมินการแก้ไขการจัดท่าในการให้นมและการดูดนมของทารก
ฝึกแม่อุ้มลูกให้ถนัดก่อนให้ดูดนมแม
จัดผ้าให้แม่อยู่ในท่าที่สบายการเปลี่ยนทำในการดูดนมจะลดความเจ็บปวดจากหัวนมแตก
ช่วยให้ลูกดูดนมแม่อย่างถูกวิ ธ อย่างถูกว
สังเกตุอาการแม่ขณะลูกเริ่มดูดนมแม่อาจจะเจ็บมากจนทนไม่ไหวแสดงอาการตัวเกร็งหวีดร้อง
ขณะแม่เจ็บมากจนทนไม่ไหวต้องให้กำลังใจถ้าแม่บอกว่าทุเลาลงก็ช่วยให้มีการดูดนมต่อไปแม่จะเจ็บที่สุดประมาณ 2 ถึง 3 วินาที
และจะคลายลงจนเจ็บน้อยมาก
กระตุ้นให้มีการให้นมบ่อยมากขึ้นเพื่อลดอาการคัดตึงเต้านมถ้าลานนมถึงแข็งควรบีบน้ำนมออกและนวดลานนมให้อ่อนนุ่ม
พอให้ลูกสามารถงับหัวนมใต้
ให้ลูกดูดข้างที่ไม่แตกหรือเจ็บน้อยก่อนสมอข้อวินิจฉัย: มารดามีภาวะหัวนมแตกเนื่องจากการจัดท่าใหันมทารกไม่ถูกต้องและทารกดูดนม
ไม่มีประสิทธิภาพถ้าแม่เจ็บจนทนไม่ไหวให้งตดูดนม 1 ถึง 2 วันและควรบีบน้ำนมทิ้งหนึ่งถึงสองหยดก่อนแล้วจึงบีบน้ำนมทาแผลที่หัวนมเพราะน้ำนมสวนหลังจะช่วยสมานรอยแตกหัวนมใด้ติปส์อยหัวนมให้แห้งและบีบน้ำนมออกทุก 2 ถึงชั่วโมงและป้อนนมให้ลูกด้วยถ้วยชั่วคราว
ติดตามและฝึกให้มีให้นมลูกด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี
อาจใช้แก้วครอบหัวนมเพื่อป้องกันการระคายเคืองบริเวณแผล
แนะน้าไม่ว่าไม่จำเป็นต้องล้างหรือเซีตหัวนมเป็นพิเศษแนะนำให้อาบน้ำวันละสองครั้งเช้าเย็นตามปกติ
ไม่จำเป็นต้องใช้ครีมหรือยาอื่น ๆ ทาบริเว ณ หัวนมที่แตกเพราะอาจจะทำให้เกิดอาการระคายเคืองอักเสบและเด็กมากยิ่งขึ้น
ถ้าแม่เจ็บหัวนมจะรู้สึกว่าทนไม่ได้ผู้ชวยเหลือจะต้องหยุดการช่วยเหลือและให้แม่พักการให้นมลูกไว้ก่อน
20.ข้อวินิจฉัยการพยาบาลและวางแผน
การพยาบาลแก่มารดาและทารก
ในระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอด
ทารกเสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอออเนื่องจากไม่สามารถดูดนมมารดาได้ตามปกติ
ข้อมูลสนับสนุน
S: ทารกไม่ดูดนมมันตาสะบัดหน้าหนีเมื่อเอาหัวนมเข้าปาก
O: ได้รับนมผสมร่วมกับนมมารดา, น้ำนมมารดาไหลน้อย
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำมารดาให้ทารกดูดนมมารดาซึ่งมีน้ำและสารอาหารจำนวนมากเพียงพอต่อความต้องการของทารก
โดยให้ดูดบ่อยและถูกวิธีหลังจากดูดนมอิ่มต้องให้ทารกเรอทุกครั้ง
แนะนำและช่วยเหลือในการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 6 เดือน
หากไม่มีข้อจำกัด
ปริมาณการเจริญเติบโตโดยการชั่งน้ำหนักและแจ้งให้มารดาทราบทุกครั้งเพื่อให้ดาได้ทราบถึงการ
เปลี่ยนแปลงของทารกพร้อมท:ังอธิบายให้เข้าใจถึงน้ำหนักที่เพิ่ม้นหรือลดลงและรวมทั้งบอกวิธีการแก้ไข
ตามสาเหตุเช่นการปฏิบัติตัวของมารดาเพื่อให้มีน้ำนมมากเพียงพอต่อความต้องการของทารก