Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์ที่ 1 การพยาบาลระยะตั้งครรภ์, น.ส.สุภัสสร พรหมมี 60116811…
สถานการณ์ที่ 1
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
ซักประวัติ ตรวจครรภ์ ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพิ่มในประเด็นไหน
เริ่มนับการดิ้นของทารกในครรภ์ หรือได้นับการดิ้นของทารกในครรภ์สัปดาห์ไหน
ซักประวัติเกี่ยวกับวิธีการคุมกำเนิดก่อนการตั้งครรภ์
ภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ครั้งก่อน
โรคหรือภาวะผิดปกติที่เคยเป็น
ประวัติการผ่าตัดที่เคยได้รับ
ซักประวัติการรับประทานอาหารในแต่ละวันที่มีโฟเลต
โรคประจำตัว
ประวัติความผิดปกติทางพันธุกรรม
ประวัติดื่มสุราและการใช้สารเสพติด
อาชีพ อายุ จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ ส่งผลต่อการเกิดอาการดังกล่าวหรือไม่
อาชีพ อายุ ไม่มีผลต่ออาการที่ตั้งครรภ์ครั้งนี้ แต่จำนวนครั้งการตั้งครรภ์มีผลเพราะครั้งนี้เป็นการตั้งครรภ์ครั้งที่ 2 แต่เกิดการแท้งในครั้งแรก จึงอาจทำให้ประสบการณ์ตั้งครรภ์อาจไม่มีหลังจากแท้งอาจจะไม่ได้มีการรักษาอย่างถูกต้องมาก่อนและอาจจะเป็นจากเหตุของความไม่พร้อมมีบุตรเลยเกิดการแท้งในครั้งแรกและดูแลทารกในครรภ์สองได้ไม่ดี
อาการทั้งหมดข้างต้นมีสาเหตุ
มีภาวะทุพโภชนาการ
สตรีตั้งครรภ์รายนี้มีภาวะปกติหรือไม่
Hct ต่ำ
ขนาดมดลูกน้อยกว่าอายุครรภ์
น้ำหนักของมารดามีการเพิ่มขึ้นแต่น้อยกว่าเกณฑ์ในไตรมาสที่ 1 และ 2
VRDL Reactive
OF positive
วินิจฉัยแยกโรค
1) อาการบวม
สตรีตั้งครรภ์เมื่อเข้าสู่ระยะของการตั้งครรภ์ จะพบอาการบวมที่ข้อเท้าและเท้าได้ ถ้าไม่พบโปรตีนในปัสสาวะและความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 mmHg ถือว่าเป็นอาการปกติ
2) อาการปัสสาวะบ่อย
ในการตั้งครรภ์เกิดจากมดลูกกดเบียด urinary bladder ในไตรมาที่ 1 และ ไตรมาสที่ 3 ส่วนนากดเบียด urinary
3) อาการเหนื่อยง่าย
เกิดจากการเผาผลาญพลังงานในร่างกายที่สูงขึ้นในขณะตั้งครรภ์ ร่วมกับอาการคลื่นอาเจียน และอาการปัสสาวะบ่อยในช่วงกลางคืน ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดความเหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
4) ภาวะซีด
ในช่วงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนทางรีวิทยา ขณะตั้งครรภ์ปริมาตรเพิ่มขึ้น 30-50% เม็ดเลือดแดงเพิ่ม 20-30% ขณะที่ plasma เพิ่มขึ้น 30-50% เมื่ออายุครรภ์ 6 สัปดาห์
ปริมาตรเลือดจะเพิ่มขึ้น 40 % ในช่วงสัปดาห์ที่ 30 -34 จะเพิ่มสูงสุดและลดลงเล็กน้อยและภาวะคงที่จนกระทั่งสัปดาห์ที่ 40 ระดับปกติหลังคลอด
5) อาการเหงื่อออกตัวเย็นหน้ามืดตาลายจากภาวะอื่น ๆ
อาการเหงื่อออก
เกิดจากการเพิ่มขึ้นไทรอยด์ฮอร์โมนจึงทาให้มีปริมาณเลือดเพิ่มมากขึ้น หลอดเลือดเกิดการขยายตัวส่งผลให้ร้อนกว่าปกติ
ตัวเย็น หน้ามืด ตาลาย
เกิดจากการที่ทารกในครรภ์กดเบียด Inferior Vena Cava ทาให้การไหลย้อนกลับของเลือดน้อยลงและทาให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆน้อยลงจึงเกิดอาการดังกล่าวขึ้น
ให้การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการไม่สุขสบายในระยะตั้งครรภ์
อาการไม่สุขสบายในไตรมาสที่ 1
1.ปัสสาวะบ่อย คือ มดลูกมีการกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
2.อาการเหนื่อยล้าเเละหน้ามืด คือ หลอดเลือดเกิดการหย่อนตัวทาให้ระดับความดันโลหิตต่ำลง เป็นระยะมดลูกต้องการเลือดในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น จึงทาให้ปริมาณน้าตาลในเลือดลดลง ส่งผลให้เกิดอาการหน้ามืดและอ่อนเพลียง่าย
3.คัดตึงเต้านม คือ เลือดไปเลี้ยงบริเวณเต้านมมากขึ้น
4.น้ำลายมาก คือ การเปลี่ยนเเปลงของฮอร์โมนในหญิงตั้งครรภ์ หรืออาจเกี่ยวข้องกับกรดไหลย้อน
5.คลื่นไส้อาเจียน สาเหตุยังไม่รู้เเน่ชัด เเต่สันนิษฐานว่าเกิดจากกลไกในร่างกายของแม่ที่ป้องกันไม่ให้กินอาหารมากเกินไปจนทาให้เกิดสิ่งที่เป็นพิษต่อตัวทารกในระหว่างการเจริญเติบโตของตัวอ่อนในช่วงแรก
อาการไม่สุขสบายในไตรมาสที่ 2
1.หายใจลาบาก คือ ระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเพิ่มสูงขึ้น ไปกระตุ้นให้สมองต้องการออกซิเจนมากขึ้นเเละเกิดจากการขยายตัวของมดลูกที่ใหญ่ขึ้น ส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์หายใจลาบากเเละรู้สึกอึดอัด
2.อาการเเสบร้อนยอดอก คือ การขยายของของมดลูกทาให้เกิดการกดเบียดบริเวณกระเพาะอาหารเเละมีกรดไหลย้อนภายในหลอดอาหาร
3.ท้องผูก คือ เกิดจากการเพิ่มขึ้นของระดับฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน ส่งผลต่อการทางานของกล้ามเนื้อและลาไส้ ทาให้ลาไส้เคลื่อนตัวและย่อยอาหารได้ช้าลงเเละเกิดจากมดลูกขยายตัวใหญ่ขึ้น ทาให้เกิดเเรงดันบริเวณทวารหนักจนกระทบต่อระบบขับถ่ายจนเกิดอาการท้องผูกหรือท้องอืด
4.ตะคริว คือ เกิดจากทารกในครรภ์จะดึงเเคลเซียมจากเเม่ไปใช้ในการเสริมสร้างกระดูกเเละฟัน เเละการขยายของมดลูกจะไปกดทับหลอดเลือดตรงตาเเหน่งของอุ้งเชิงกราน ทาให้เป็นตะคริว
หญิงตั้งครรภ์รายนี้มีอายุครรภ์กี่สัปดาห์และคำนวณได้อย่างไร
GA 20 Weeks คำนวณได้จากวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย (LMP) นับไปจนถึงวันที่มาฝากครรภ์
ฝากครรภ์ครั้งแรก ควรซักประวัติและตรวจร่างกายหญิงตั้งครรภ์ในประเด็นใดเพิ่มเติม
ซักประวัติการสูบบุหรี่หรือสารเสพติดอื่นๆ
โรคหรือภาวะผิดปกติที่เคยเป็น
โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การผ่าตัดอื่นๆ นอกเหนือจากการผ่าตัดคลอด
การใช้ยาในปัจจุบัน
ประวัติการแท้งและการขูดมดลูก
ประวัติการได้รับวัคซีน
การตรวจหมู่เลือด ( ABO and Rh )
ฟังบริเวณหน้าท้องได้ยินเสียงฟู่ เท่ากับเสียง FHS ปกติหรือไม่
ปกติ
เพราะนอกจากการฟังเสียง FHS แล้ว อาจได้ยินเสียงจากสายสะดือ (umbilical cord souffle หรือ funic souffle) ซึ่งเป็นเสียงที่ได้ยินจากการที่เลือดไหลผ่านภายในเส้นเลือดของสายสะดือทารกไม่สะดวก จากการถูกกด ถูกบีบหรือสายสะดือบิดมากๆ เสียงที่ได้ยินจะเป็นเสียงฟู่ๆ มีอัตราการเต้นเท่ากับเสียงหัวใจทารก (FHS)
สตรีตั้งครรภ์รายนี้ควรได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยักอีกหรือไม่
หญิงตั้งครรภ์รายนี้เคยได้รับวัคซีนบาดทะยักในการฝากครรภ์ครั้งแรก สรุปการฉีดวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบบาดทะยักในหญิงมีครรภ์ มีรายละเอียดดังนี้
ไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อน, ได้ไม่ครบหรือไม่ทราบประวัติการฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยักและคอตีบมาก่อน
ผู้หญิงที่ไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อนเลยควรได้รับการฉีดวัคซีนใหม่ครบ 3 เข็มที่ 0, 4 สัปดาห์และที่ 6-12 เดือนหลังจากเข็มแรก
และเพื่อป้องกันโรคไอกรนด้วยควรให้ Tdap แทนที่การฉีด Td 1 เข็มช่วงเวลาที่เหมาะสมการให้คือหลัง 20 สัปดาห์จนกระทั่งคลอดเนื่องจากหลัง 20 สัปดาห์ไปจะมีผลกระทบต่อการเจริญของทารกในครรภ์น้อยมาก
กรณีเคยได้รับวัคซีนบาดทะยักครบมาก่อนและยังอยู่ภายใน 5 ปี
แนะนำการรับประทานยา Triferdine 1
2 o pc และ Calcium 1
1 o pc
หญิงตั้งครรภ์ซีดต่ำ (Hct30-33%)
Triferdine 1 เม็ดหลังอาหารเช้า + Ferrous fumarate 1 เม็ดหลังอาหารเช้า +Calcium 2 เม็ดก่อนนอน
Triferdine 1 เม็ดหลังอาหารเช้า + Calcium 2 เม็ดก่อนนอน
น.ส.สุภัสสร พรหมมี 60116811 section 2