Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในภาวะวิกฤติ - Coggle Diagram
การดูแลช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในภาวะวิกฤติ
แนวคิดของการพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน
วิกฤติ Crisis หมายถึง ภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปจากภาวะปกติ ทำให้บุคคลต้องใช้กลไกการปรับตัวทำให้สมรรถภาพการแก้ปัญหาของบุคคลลดลงทำให้เสี่ยงต่อการเกิดความเจ็บป่วยทางด้านจิตอารมณ์ (Caplan,1981)
วิกฤต Crisis หมายถึง ภาวะที่บุคคลขาดความสมดุลทางด้านจิตใจในการใช้กลไกทางจิตในการแก้ไขปัญหาหรือภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากความเป็นอยู่เดิม ทำให้เกิดการสูญเสียด้านสมดุลต้องมีการใช้กลไกทางจิตเพื่อปรับสมดุลของจิตใจ
องค์ประกอบที่เกี่ยวกับภาวะวิกฤติฉุกเฉิน
1.การรับรู้เหตุการณ์ของบุคคล
1.1 การรับรู้เหตุการณ์สูญเสีย อาจจะสูญเสียจริงหรือแยกจากกน บุคคลจะมีอาการซึมศร้า
1.2 การรับรู้เหตุการณ์ที่เป็นการท้าทายความสามารถ บุคคลจะระดมเอาพลังของเขามาใช้ในการแก้ไขปัญหา
1.3 การรับรู้เหตุการณ์เป็นจริงหรือบิดเบือน
1.3.1 รับรู้เหตุการณ์ตรงความเป็นจริง ตระหนักถึงเหตุการณ์วิกฤติกับความเครียดของตน จะสามารถแก้ไขปัญหาได้
1.3.2 ถ้ารับรู้เหตุการณ์บิดเบือน นำไปสู่ความเครียด ความพยายามในการแก้ไขปัญหาจะไร้ผล
2.มีบุคคลให้การช่วยเหลือ
บุคคลสำคัญของเข้าจะช่วยปกป้องเขาจากความรู้สึกไม่ปลอดภัย ในทางตรงกันข้ามถ้าบุคคลที่ช่วยประคับประคอง ทำให้อยู่ในภาวะไม่สมดุล และเิดภาวะวิกฤติทางอารมณ์ได้
3.ความสามารถเผชิญกับความเครียด
ถ้าบุคคลที่ความสามารถในการเผชิญความเครียดดี จะสามารถจัดการกับอารมณ์ได้ แต่ถ้าเผชิญความเครียดไม่ดี อจอยู่ในภาวะไม่สมดุล เกิดภาวะวิกฤติได้
ทฤษฎีภาวะวิกฤติทางอารมณ์ (Crisis)
1.Eric linderman ความสูญเสียจากคนที่รักจากการตาย นำไปสู้ภาวะวิกฤติทางอารมณ์ได้
Gerald caplan วิกฤติที่เกิดขึ้นตามพัฒนาการของมนุษย์ มี 4 ระยะ
1.ระยะที่ 1 บุคคลรู้สึกมีความตึงเครียดเมื่อรับรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึน
ระยะที่ 2 ความเครียดยังมีสูงมาก มความคิดหมกหมุ่น ใช้กลไกทางจิจในการแก้ปัญหา
ระยะที่ 3 ความเครียดสูงมากขึ้นอีก บุคคลจะพยายามระดมพลังทุกส่วนทั้งจากภายนอกและความสามารถด้านอื่นๆ
ระยะที่ 4 ความเครียดสูงสุด พฤติกรรมต่างๆเริ่มเปลี่ยน บุคลิกภาพเปลี่ยนไป ปรากฎในรูปซึมเศร้าหรือออกมาในรูปจิตสรีรัแปรปรวนได้ ถ้าไม่สามารถได้รับการแก้ไขภายใน 6 สัปดาห์อาจเกดอาการทางจิตได้
Parad and tennik เหตุการณ์ที่กระตุ้นเหตุทางอารมณ์ได้ บุคคลรับรู้ว่าเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความเครียดสูง มี 3 ระยะ
ระยะที่ 1 ระยะก่อเกิดภาวะวิกฤติทางอารมณ์ (percrisis period) มีความเครียดล็กน้อย แต่มีภาวะต่อตัวเขา เป็นการคุกคาตัวเข้าและไม่สามารถจัดการได้
ระยะที่ 2 ระยะวิกฤติทางอารมณ์ (crisis period) มีความเครียด กังวล พยายามหาทางแก้ปัญหาลองผิดลองถู
ระยะที่ 3 ระยะหลังวิกฤติทางอารมณ์ (postcrisis period) บุคคลที่มีความสามารถในการปรับตัว กลับมาทำหน้าที่ได้เหมือนเดิม ทำได้เหมือนเดิม ทำได้ดีกว่าเดิม ทำได้ต่ำกว่าเดิม
ชนิดของภาวะวิกฤติทางอารมณ์ (type of crisis)
ภาวะวิกฤติที่เกิดขึ้นตามพัฒนา (devolopmental crisis of maturational crisis)
เป็นวิกฤติที่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนมนุษย์ เป็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตสังคม เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เนื่องจากทุกคนต้องผ่านประสอบการณ์การเปลี่ยนแปลง
ภาวะวิกฤติจากสถานการณ์ภายนอกต่างๆ (situational crisis)
ด้านร่างกาย การเจ็บป่วยด้วยโรคร้ายแรงหรือเรื้อรัง
2.ด้านจิตสังคม การต้องท้องที่ไม่ตองการ การตายของบุคคลที่รัก การหย่าร้าง การสอบตก การถูกไล่ออก
3.ด้านสิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติธรรมชาติ
อารมณ์ที่ผู้ป่วยภาวะวิกฤติต้องเผชิญ
ความกังวล (Anxiety) พบมากที่สุด เกิดเมือรู้สึกตนเองถูกคุกคาม
ความกลัว (Fear) พฤติกรรมที่ปกติที่สุด
หมดหนทาง (helplessness) ทำให้รูสึกซึมเศร้า หมดหวัง หมดคุณค่า
การพยาบาลบุคคลในภาวะวิกฤติ (crisis intervention)
ประเมินผู้รับบริการ (assessment)
1.ผู้รับบริการ (Client) สอบถามว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น
2.ความรู้สึกของผู้รับบริการ (the client's feeling) ให้บรรยายถึงความรู้สึกที่มี
การรับรู้เหตุการณ์ของผู้รับบริการ (the client's perception of the event) พิจารณาการรับรู้ว่าตรงกับความเป็นจริงหรือบิดเบือน
บุคคลหรือแหล้งสนับสนุนให้การช่วยเหลือ (the client's support systems) ใครจะคอยช่วยปลอบใจ และให้กำลังใจผู้รับบริการ
ทักษะในการจัดการกับความเครียด (the client's coping skills) เมื่อเกิดปัญหา จัดการกับปัญหานั้นอย่างไร
ความเสี่ยงในการทำร้ายตนเองของผู้รับบริการ (the client's potential for self-harm)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
1.การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
2.เปิดโอกาสให้ผู้รับบริการพูดถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้น
3.อธิบายอารมณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น จะบรรเทาลงได้
4.ดูแลทางด้านร่างกาย การให้วิธีผ่อนคลายแก่ผู้ให้บริการ
5.ให้บุคคลใกล้ชิดคอยให้ความช่วยเหลือ
6.ติดตามการประเมินหลังแก้ไขภาวะวิกฤตทางอารมณ์
การประเมินผล (Evaluation)