Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา (Case study) ชุมชนบ้านหนองสำราญ หมู่ที่ 13 - Coggle Diagram
กรณีศึกษา (Case study)
ชุมชนบ้านหนองสำราญ หมู่ที่ 13
ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ
ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
ออกกำลังกายปานกลาง
ไม่สูบบุหรี่
รับประทานอาหารหลัก วันละ 3 มื้อ
รับประทานผัก ผลไม้รับประทานบ้างในบางมื้อ
นอนกรน โดยเฉลี่ยหลับได้คืนละ 8 ชั่วโมง
ไม่นอนกลางวัน
แบบประเมินความเครียด (ST-5) รวมคะแนน 0 คะแนน เครียดน้อย
แบบประเมินสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ (0คะแนน)
ข้อมูล
บ้านเลขที่ 86 หมู่ 13 บ้านหนองสำราญ ตำบลเกาะแก้ว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
ชื่อผู้ใช้บริการ นางบุญเพ็ง ตราสำโรง อายุ 64 ปี โรคประจำตัว : Diabetes Mellitus and Hypertension
ยาที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
Glipizide5 mg รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
Metformin 500 mg รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า-เย็น
Enalapril 5 mg รับประทานครั้งละ ครึ่งเม็ด วันละ 1 ครั้ง
Simvastatin 20 mg รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ประเมินเพื่อคัดกรองภาวะโภชนาการ (Mini Nutritional Assessment : MNA)
สรุปผล รวมคะแนน 12 คะแนน ภาวะโภชนาการปกติ
ประเมินการทำหน้าที่ของร่างกาย (Assessment of Functioning)
สรุปผล รวมคะแนน 20 คะแนน ต้องการพึ่งพิงผู้อื่นเพียงเล็กน้อย
Instrumental activities of daily living
รวมคะแนน 14 คะแนน มาก
Gait instability/risk of falls
ใช้เวลาทั้งหมด 13 วินาที
สรุปผล ความสามารถในการทรงตัวปานกลาง เสี่ยงต่อการหกล้ม
การประเมินภาวะพลัดตกหกล้ม (Thai Fall Risk Assessment Tool [Thai Frat])
จากการประเมินภาวะเสี่ยงต่อการหกล้มในผู้สูงอายุได้คะแนน 8 คะแนน คือเสี่ยงต่อการหกล้ม
อุปกรณ์ทางการแพทย์ เครื่องช่วยเหลือที่ใช้
ฟันปลอม
แว่นตา
Urinary incontinence
ไม่มี
การประเมิน การตรวจร่างกาย
การประเมินสุขภาวะทางตา
ตาขวา VA = 20/20-1 ตาซ้าย 20/20
แปลผล : สายตาปกติ
Temp = 36.5 °C P = 72 bpm RR = 20 bpm BP = 120/70 mmHg
ประเมินโรคข้อเข่าเสื่อม
เสียงดังกรอบแกรบในข้อเข่าขณะเคลื่อนไหว (crepitus)
ประเมินภาวะสุขภาพจิต (Psychological Assessment )
แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2 คำถาม (Q 2
ไม่มี
แบบทดสอบสภาพจิต (Chula mental test : CMT)
แปลผล : ประเมินภาวะสุขภาพจิตได้ 19 คะแนน ไม่มีปัญหาทางสุขภาพจิต
แบบประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม (PHQ 9)
การแปลผล : ไม่มีภาวะซึมเศร้า
แบบวัดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric Depression Scale : TGDS)
การแปลผล : การประเมินภาวะซึมเศร้าได้ 9 คะแนน มีภาวะปกติ
การวางแผนการพยาบาลผู้สูงอายุ
มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เนื่องจากมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน
แนะนำเกี่ยวกับอาหาร ควรเลือกอาหารที่มีสัดส่วนของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และ ไขมันในสัดส่วนที่พอเหมาะ รับประทานอาหารเป็นเวลา และงดดื่มน้ำหวาน
สอนวิธีการอ่านฉลากโภชนาการ เพื่อให้ทราบสารอาหาร และปริมาณสารอาหาร
แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย โดยการกระดกส้นเท้า ปลายเท้า การยก และกางแขน ออก การแกว่งแขน ถ้ามีแรงมากขึ้น ให้เดินออกกำลังกาย วันละประมาณ 30-50 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน และในแต่ละวันอาจแบ่งเป็น 2-3 ครั้ง
4.แนะนำการใช้ยา
Glipizide5 mg รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
Metformin 500 mg รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า-เย็น
Enalapril 5 mg รับประทานครั้งละ ครึ่งเม็ด วันละ 1 ครั้ง
Simvastatin 20 mg รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
5 . แนะนำให้สังเกตอาการของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ ซึม อ่อนเพลีย ผิวแห้ง กระหายน้ำ อาเจียน ปวดท้อง ปวดเมื่อยตามร่างกาย ชีพจรเต้นเร็ว ถ้ามีอาการดังกล่าวควรมาพบแพทย์
แนะนำมาพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง เพื่อการรักษาที่ต่อเนื่อง และการตรวจตา ฟัน เท้า
7.แนะนำสมุนไพรในการช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ได้แก่ ใบเตย ยอ (Yor)
ปฏิบัติตัวไม่เหมาะสมกับโรคความดันโลหิตสูงเนื่องจากขาดความตระหนักรู้
1 พูดคุยสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและญาติ
2 สอบถามความรู้เดิมและความเชื่อเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงเพื่อประเมินความรู้
3 อธิบายการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเหมาะสมเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงเนื่องต่อไปนี้
การควบคุมอาหาร
การหลีกเลี่ยงกินไขมันสูงเช่นอาหารที่มีกะทิข้าวขาหมูสามชั้นแคบหมูเครื่องในสัตว์
การคุมอาหารที่มีโซเดียมสูงเช่นเกลือ เต้าเจี้ยวรสผงชูรส กะปิ ปลาเค็ม ปลากระป๋อง
การหลีกเลี่ยงกินไขมันสูงเช่นอาหารที่มีกะทิข้าวขาหมูสามชั้นแคบหมูเครื่องในสัตว์ปลาหมึก ขนมที่ใส่กะทิ งดใช้น้ำมันที่ทำมาจากน้ำมันปาล์ม
การรับประทานอาหารเช่น ปลา นมพร่องมันเนย ถั่วเหลือง เต้าหู้ ถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ อาหารที่มีกากใยเพิ่มขึ้นเช่นผักและผลไม้
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายจะช่วยให้ร่างกายได้นำไขมันไปใช้จึงทำให้ลดระดับไขมันในกระแสเลือดและลดการสะสมไขมันในร่างกายด้วยเช่นการเดินวิ่งการบริหารโยคะหรือรำมวยจีน
การรับประทานยา
รับประทานยาตามที่แพทย์แนะนำ
วิธีจัดการกับความเครียด
การมาตรวจตามนัด
ปวดบริเวณข้อเข่าซ้ายเนื่องจากเข่าเสื่อม
1 ประเมินระดับความปวดโดยใช้ Pain score
แนะนำออกกำลังกายในสถานที่ที่มีแสงแดดอ่อน ๆ อย่างสม่ำเสมอ
แนะนำให้หลีกเลี่ยงการกเลี่ยงการนั่งยองๆพับเพียบขัดสมาธิ
แนะนำการเคลื่อนไหวอย่างระมัดระวังเพื่อป้องกันการหกล้ม
แนะนำวิธีบรรเทาอาการปวดต่างๆเช่นการแช่เท้า การนวด การประคบด้วยความร้อนหรือความเย็นการพักหรือลดการใช้งานโดยหลีกเลี่ยงการลงบันไดหรือการใช้สมุนไพร เช่น ขิง ขิงมีสรรพคุณหลายอย่าง รวมไปถึงการบรรเทาอาการปวด และลดการอักเสบภายในร่างกายได้เป็นอย่างดี การใช้ขิงบรรเทาอาการปวดก็ง่ายๆ โดยการจิบชาขิง หรือดื่มน้ำอุ่นที่ฝานขิงใส่ลงไป 15 นาที
มีโอกาสหกล้มเนื่องจากมีประวัติหกล้มในช่วง 1เดือนที่ผ่านมา
ประเมินเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุ
2 การตรวจร่างกายเพื่อประเมินข้อจำกัด และความบกพร่อง
3 การประเมินภาวะพลัดตกหกล้มจากแบบประเมิน
4 แนะนำการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ