Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สิ่งกำหนดโรค กรณีสถานการณ์โควิด-19, images (3), images (2),…
สิ่งกำหนดโรค กรณีสถานการณ์โควิด-19
ปัจจัยสามทางระบาดวิทยา
ปัจจัยด้านตัวมนุษย์(Host)
ปัจจัยด้านอายุ
เด็กอ่อนอาจป่วยเป็นโรคผิวหนังผื่นแพ้หรือหอบหืดแพ้อากาศได้ง่ายเป็นต้น
ปัจจัยด้านเพศ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ปัจจัยทางสรีรวิทยา
ปัจจัยด้านพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคล ได้แก่การสูบบุหรี่การดื่มสุรา การไม่ออกกำลังกาย
ปัจจัยด้านภูมิคุ้มกัน
ปัจจัยด้านสิ่งก่อโรค (Agent)
สิ่งก่อโรคทางชีวภาพ (biological agents)
เชื้อโคโรน่าไวรัส
สิ่งก่อโรคทางกายภาพ (physical agents)
ความร้อน แสง รังสี
สิ่งก่อโรคทางสรีรวิทยา (physiological agents)
เป็นปัจจัยสิ่งก่อโรคที่เกิดขึ้นจากกลไกในร่างกายมนุษย์ตามลักษณะพยาธิกำเนิดของโรค เช่น การมีน้ำตาลในเลือดสูง (กรณีเบาหวาน) ก็จะเป็นสิ่งกระตุ้นให้โรคร้ายแรงขึ้น
สิ่งก่อโรคทางเคมี(chemical agents)
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environment)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (physical environment)
ภาวะโลกร้อน ซึ้งอาจทำให้
โรคติดต่อแพร่ระบาดได้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น
สิ่งแวดล้อมทางเคมี(chemical environment)
ภาวะสารพิษหรือควันพิษในอากาศ
ที่ทำให้คนเป็นโรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจมากขึ้น
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ (biological environment)
สิ่งแวดล้อมที่เป็นสิ่งมีชีวิต
ทั้งหลาย
สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม (socio-economic environment)
วัฒนธรรม
หรือขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อของชุมชน
ความไม่สมดุลที่ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ
สิ่งที่ทำให้เกิดโรค หรือ สิ่งก่อโรค มีความสามารถในการแพร่กระจายเชื้อและทำให้เกิดโรคได้มากขึ้นรวมถึงกรณีเมื่อเกิดการกลายพันธุ์เป็นเชื้อที่มีความรุนแรงมากขึ้น หรือกลายเชื้อดื้อยาที่รักษาให้หายได้ยากมากขึ้น
สัดส่วนของคนที่มีความไวในการติดโรคเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะทารกและคนชรา หรือคนที่มีภูมิต้านทานต่ำลง ได้แก่คนติดเชื้อ HIV คนเป็นเบาหวาน
"ความสมดุล" ของปัจจัยสามทางระบาดวิทยา ปัญหาด้านสุขภาพนั้นๆจะไม่เกิดขึ้น แต่เมื่อมี"ความไม่สมดุล" ของปัจจัยด้านใดด้านหนึ่ง ก็จะทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพนั้นขึ้นมาได
ประโยชน์ของปัจจัยสามทางระบาดวิทยา
ใช้จัดทำ “กรอบแนวคิด” (conceptual framework) สำหรับการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพหรือ การทำวิจัย เพื่อให้เกิดความครอบคลุมปัจจัยทุกด้านที่ควรจะเป็นตามทฤษฎี
ใช้กำหนด “มาตรการควบคุมโรค”
จัดทำโดย นางสาววรรณวิสา กุมภิโร เลขที่ 37 ห้องB