Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเลือกผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์อื่นๆ…
การเลือกผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และหลักฐานเชิงประจักษ์อื่นๆ ในการปฏิบัติการพยาบาล
หลักฐานเชิงประจักษ์
ความหมาย
ความรอบรู้ข้อมูลหรือความจริง
สามารถใช้เป็นข้อมูลสำหรับการตัดสินใจ
ในการให้บริการสุขภาพได้
ในการให้บริการสุขภาพได้
ความสำคัญ
เป็นขั้นตอนที่ทำให้แน่ใจว่าผู้ใช้บริการได้รับบริการที่ดีที่สุด
ช่วยให้บุคลากรใช้ความรู้ ประสบการณ์ของตนมาตัดสินใจเลือกวิธีการดูแลที่ดี ช่วยให้ประหยัดเวลา
ปรับปรุงการดูแลผู้ใช้บริการให้มีคุณภาพและส่งผลดีต่อผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
กระบวนการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์
การประเมินผู้ใช้บริการ (Assess the patient)
การตั้งคำถาม (Ask the question)
การสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ (Acquire the evidence)
การประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ (Appraise the evidence)
การนำไปใช้ (Apply)
การประเมินผล (Evaluation)
แนวปฏิบัติทางการพยาบาล(Clinical Nursing Practice Guidelines : CNPGs)
มีเป้าหมายหลักให้ประชาชนมีสุขภาพดี
ภายใต้ค่าใช้จ่ายที่ลดลง เพื่อให้เกิดผลลัพธ์
ของการบริการที่ดีและบรรลุสู่เป้าหมายสำคัญ
คือ คุณภาพบริการ
ความหมาย
ข้อความแสดงวิธี ทำงานที่พัฒนาขึ้น
อย่างเป็นระบบเพื่อช่วยในการตัดสินใจ
ของพยาบาลวิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
ที่เหมาะสมสำหรับภาวะใดภาวะหนึ่ง
หลักการสร้างแนวปฏิบัติพยาบาล
ต้องมีเป้าหมายหลักอยู่ที่ผลลัพธ์การบริการ (Outcomes)
ต้องมาจากการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (Best available evidence)
การคัดเลือกเนื้อหาหลักฐานเชิงประจักษ์ต้องผ่านการตัดสินใจของผู้มีประสบการณ์และ
มีความ เชี่ยวชาญเพื่อให้ได้มาซึ่งแนวปฏิบัติที่ด
กระบวนการพัฒนาควรมาจากสหวิชาชีพ (Multidisciplinary team) โดยรวมทั้งผู้ใช้บริการ (Consumers) และผู้เกี่ยวข้อง (Stakeholders
ควรมีลักษะยืดหยุ่น สามารถประยุกต์ใช้ได้หลายหน่วยงาน
ควรพัฒนาบนฐานของค่าใช้จ่ายที่ลดลง
พัฒนาแล้ว ควรนำไปใช้ในกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ
ติดตามประเมินผลการนำไปใช้และผลลัพธ์ที่ได้อย่างต่อเนื่อง
ทบทวนแนวปฏิบัติพยาบาล
อย่างสม่ำเสมอ
การพัฒนาแนวปฏิบัติพยาบาลบนหลักฐานเชิงประจักษ
การกำหนดประเด็นปัญหาสุขภาพที่ต้องการแก้ไข
1.1 การระดมสมองร่วมกัน
1.2 ตัวชี้วัดคุณภาพการบริการที่ทำได้ไม่ถึงเกณฑ์
1.3 การพูดคุยกันแล้วลงฉันทามติ
จากการทำวารสารสโมสร (Journal club)
การประชุม (Conference)
การกำหนดทีมพัฒนา
ทีมงานจะต้องประสานร่วมมือจริงจัง
ระหว่างฝ่ายวิชาการ (education) ฝ่ายวิจัย (research) และและฝ่ายที่นำไปปฏิบัติ (practice)
การกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขตและผลลัพธ์
วัตถุประสงค์ต้องชัดเจน สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย กำหนดเกณฑ์ คัดเข้าและคัดออก กำหนดหน่วยงานที่ จะนำไปใช้ กำหนดผลลัพธ์ที่ต้องการอาจผลลัพธ์ระยะสั้น หรือผลลัพธ์ระยะยาวก็ได้
การสืบค้นและการประเมินคุณค่าหลักฐานเชิงประจักษ์ที่สืบค้นได้
4.1 กำหนดคำสำคัญในการสืบค้นตามกรอบการตั้งคำถาม PICO
P (patient population or problem) = smoker, nicotine dependence
I (intervention or area of interest) = smoking cessation, 5A, 5R
C (comparison intervention) = Usual care, Brief advice
O (outcome) = quit rate, abstinence rate
กำหนดแหล่งสืบค้นและวิธีการสืบค้น แหล่งที่สืบค้นมีทั้งฐานข้อมูล (Databases)
2.1 ฐานข้อมูล (Databases)
2.2 เว็บไซต์ (Websites)
2.3 แหล่งสืบค้นด้วยมือ
การคัดเลือกและการประเมินคุณค่าของหลักฐานเชิงประจักษ์
5.1 หากเป็นงานวิจัยจะต้องพิจารณาถึงแบบการวิจัย (Designs)
5.2 กรณีเป็นการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ (Systematic review)
5.3 กรณีเป็นแนวปฏิบัติ (CPGs) ที่มีผู้สร้างขึ้นไว้แล้ว ต้องพิจารณาความถูกต้องของ
กระบวนการพัฒนา CPGs ตามแนวคิดของ EBP
การยกร่าง CNPGS ขั้นตอนการยกร่าง CNPGs ประกอบด้วย
6.1 การสรุปสาระสำคัญของแนวปฏิบัติ
6.2 การทำแบบประเมินผลการใช้ CNPGs ไว้ล่วงหน้า
6.3 การจัดทำรูปเล่ม CNPGs ฉบับยกร่าง รูปเล่มของ CNPGs
การตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ
ควรได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ
อย่างน้อยผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนา CNPGs 1คน
การทดลองใช้ CNPGs
นางสาวจิระดา พึ่งสกุล รหัสนักศึกษา 614991016 เลขที่ 14