Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การจัดการความขัดแย้ง - Coggle Diagram
บทที่ 10 การจัดการความขัดแย้ง
ความหมายของความขัดแย้ง
ต่างฝ่ายต่างยอมรับการอยู่ตรงข้ามกัน
แต่ละฝ่ายต่างเชื่อว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะขัดขวางผลประโยชน์
มีผลประโยชน์ตรงข้ามกันระหว่างบุคคล
มีการกระทำเพื่อให้เกิดความขัดแย้งดังกล่าวจริง
วิวัฒนาการของแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง
แนวคิดแบบดั้งเดิม
ความขัดแย้งทั้งหลายล้วนเป็นสิ่งเลวร้าย
ความขัดแย้งถูกมองเป็นการสร้างความรุนแรง
ความขัดแย้งเป็นการทำลาย
ความขัดแย้งเป็นความไร้เหตุผล
ความขัดแย้งเป็นเรื่องเสียหายควรหลีกเลี่ยง
แนวคิดเชิงมนุษย์สัมพันธ์
ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ
ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้ทุกกลุ่ม
ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้
ความขัดแย้งมิใช่เรื่องเลวร้ายเสมอไป
ความขัดแย้งไม่สามารถขจัดความขัดแย้งให้หมดไปได้
ผู้บริหารควรให้การยอมรับและทำความเข้าใจ
ผู้บริหารควรควบคุมความขัดแย้งให้อยู่ในระดับที่เป็นประโยชน์
สาเหตุของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งที่มีสาเหตุมาจากองค์ประกอบส่วนบุคคล
การศึกษา
วัฒนธรรม
ค่านิยม
ความขัดแย้งที่มีสาเหตุมาจากความสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การสื่อความหมายที่ผิด
ขาดความไว้วางใจต่อกัน
เข้าใจว่ามีคนจับผิด
เกิดจากลักษณะเฉพาะบุคคล
เกิดจากอารมขุ่นเคือง
ความขัดแย้งที่มีสาเหตุมาจากองค์การ
ความขัดแย้งในการแย่งชิงทรัพยากร
ความไม่ชัดเจนเรื่องหรน้าที่รับผิดชอบ
กระบวนการของความขัดแย้งในองค์กร
ช่วงที่ 1
โครงสร้างองค์กร
ปัจจัยส่วนบุคคล
การสื่อสาร
ช่วงที่ 2
ความขัดแย้งที่รู้สึก
รู้สึกถึงความขัดแย้ง
ช่วงที่ 4
ร่วมมือ
ประนีประนอม
แข่งขัน
หลีกเลี่ยง
ผ่อนปรน
ช่วงที่ 3
แสดงพฤติกรรมที่ชัดเจน
มีการแสดงออก
ช่วงที่ 5
แก้ไขอย่างเหมาะสม
แก้ไขไม่ได้จเกิดผลด้านลบ
เทคนิคการจัดการความขัดแย้ง
การประนีประนอม
การหลีกเลี่ยง
การร่วมมือ
การยินยอม
การเอาชนะ