Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ค่านิยม วินัย …
บทที่ 13
คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ค่านิยม
วินัย และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คุณธรรม
ความหมาย
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 กล่าวว่าคุณธรรมเป็นสภาพคุณงามความดี คุณธรรมเป็นลักษณะที่ดีงามหรือพฤติกรรมที่ปฏิบัติจนเป็นนิสัย และการทีบุคคลได้กระทำตามความคิดและมาตรฐานของสังคมในทางความประพฤติและจริยธรรม
ความสำคัญ
คุณธรรมเป็นเสมือนหลักการสำคัญที่บุคคลหรือสังคมนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตจะช่วยให้บุคคลปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่น มีความสำเร็จที่ทำเป็นอย่างดีของครอบครัว สังคม และประเทศชาติสำหรับครูกับคุณธรรมนั้นเป็นของคู่กัน หากครูขาดคุณธรรมเมื่อใดก็เหมือนนักบวชที่ไร้ศีลธรรม
ธรรมสำหรับครู
อิทธิบาท มีธรรมแห่งการทำให้งานสำเร็จ
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา คือคุณธรรมประจำใจ ธรรมที่ค้ำจุนโลก
อริยธรรม คุณธรรมแห่งการประพฤติปฏิบัติ
สังคหวัตถุ ธรรมแห่งการยึดเหนี่ยวและประสานสามัคคี
ฆราวาสธรรม ธรรมแห่งการครองเรือนและการครองชีวิตครู
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เป็นแนวคิดสำคัญที่สุดในการสอนคนซึ่งนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับโดยเน้นการปฏิบัติบนสายทางสายกลางและการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอนซึ่งคำนิยามความพอเพียงจะต้องประกอบด้วยสามคุณลักษณะคือความพอประมาณความมีเหตุผลการมีผมคนคุ้มกันที่ดีในตัว
การศึกษากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สามารถนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเชื่อมโยงกับการจัดการศึกษาในระดับกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในระดับปฐมวัยระดับประถมศึกษาระดับมัธยมศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษา
ค่านิยม
ความหมาย
พฤติกรรมและสิ่งอื่นที่คนในสังคมเห็นว่ามีคุณค่าจึงยอมรับมาปฏิบัติตามและห่วงแหงไว้ระยะเวลาหนึ่งค่านิยมมักเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยและความคิดเห็นของคนในสังคม (ก่อ สวัสดิพาณิชย์,2519 : 46)
ความสำคัญของค่านิยมครู
คือนิยมที่นักปราชญ์หรือบัณฑิตและสังคมส่วนใหญ่นิยมยกย่องว่าดีหากนำมาประพฤติปฏิบัติแล้วจะนำความเจริญก้าวหน้ามาสู่ตนเองและชาติบ้านเมือง
การพัฒนาค่านิยมของครู
การทำให้เจริญขึ้นการทำให้เกิดความเจริญงอกงามแก่คนโดยมีลักษณะที่มีความเจริญงอกงามมาจากภายในการทำความเชื่อมั่นในใจคุณค่าของความเป็นครูให้ดีขึ้น
วินัย
ระเบียบแบบแผน และข้อบังคับ ข้อปฏิบัติ
จริยธรรม
ความหมาย
ธรรมที่เป็นข้้อปฏิบัติ ศีลธรรม กฏศีลธรรม
การพัฒนาจริยธรรมของครู
ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมาและไม่กระทำการเลี่ยงประมวลจริยธรรม