Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหลังคลอดในระยะที่1,2 ของการคลอด, นางสาวภัทรธิดา พฤกษ์ยินดี พยบ.…
การพยาบาลหลังคลอดในระยะที่1,2 ของการคลอด
-
- ส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
-
-
-
-
- ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บครรภ์คลอด
-
-
-
-
-
- หายใจตื้น เร็ว เบา เป่าปาก(pant-blow)
- การประเมินการเปิดขยายมดลูกมี 2 ระยะ
- การประเมินการเปิดขยายมดลูกมี 2 ระยะ
- ปากมดลูกเปิดช้า นับจากเจ็บครรภ์จริงจนถึงปากมดลูกเปิด 3 cm มีการหดรัดตัวของมดลูก 5-10 นาที duration 30 วินาที
- เปิดช้าลง(deceleration) ปากมดลูกเปิด 9-10 cm ใน 1 ชม. 30 นาทีแรกและไม่ถึง 30 นาทีหลัง
- เปิดรวดเร็วมากที่สุด(phase of maximum slope) ปากมดลูกเปิด 5-9 cm ใน 2 ชม.แรกและ 1 ชม.หลัง
- เปิดอย่างรวดเร็ว(acceleration) ปากมดลูกเปิด 3-5 cm ใน 2 ชม.แรกและ 1 ชม.หลัง
- เจ็บครรภ์จริง-ปากมดลูกเปิด 10 cm
- การเปิดขยายนี้เกิดจากแรงดันของการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก แรงดันของถุงน้ำคร่ำและส่วนนำ
- การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
- การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก(ทำให้เจ็บครรภ์)
- แรงดันที่เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกจะกดศีรษะทารก ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจทารกลดลงเล็กน้อย และผลักให้ทารกมีการงอตัวและก้มเต็มที่ กระดูกกระโหลกศีรษะมี molding ทำให่ความดันในกระโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นและทารกที่คลอดทางช่อคลอดจะหายใจได้ง่ายกว่าผ่าตัดทางหน้าท้อง เพราะผ่านการบีบรีดน้ำออกทางช่องคลอด
- อยู่นอกอำนาจจิตใจ เป็นจังหวะสม่ำเสมอ การหดรัดตัวแต่ละครั้ง ควรพิจารณา 4 ประการ
- ระยะการหดรัดตัวหรือความนาน
-
- ระยะห่างของการหดรัดตัวและความถี่
- แรงน้อย มดลูกหดรัดตัวเล็กน้อย สามารถคลำส่วนต่างๆและฟังเสียงหัวใจได้
- ปานกลาง คลำส่วนต่างๆได้แต่ฟังเสียงหัวใจได้เบาๆ
- แรงมาก มดลูกหดรัดตัวแข็งมาก ไม่สามารถคลำส่วนต่างๆได้และฟังเสียงหัวใจได้
- มากผิดปกติ หดรัดตัวนานนกว่า 1 นาที ระยะพักน้อยหรือหดรัดตัวแบบไม่คลายเลย พบในรายที่มดลูกใกล้แตก
- การทำงานประสานกันของกล้ามเนื้อมดลูก
-
- ส่วนล่าง = passive segment
- การสั้นบาง,การเปิดขยายกล้ามเนื้อมดลูก
- สภาพที่ปากมดลูกสั้นลงจากกล้ามเนื้อปกมดลูกถูกดึรั้งขึ้นไปตามการยืดขยายของกล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่าง ซึ่งจะทำให้สั้นลงและบางมากขึ้น
- การขยายกว้างของ external os
- มูกหรือมูกเลือดปนออกจากช่องคลอด
- มูกลักษณะเหนียวข้นอุดปากมดลูก = mucous plug
- คือ เยื่อหุ้มชั้น amnion , chorion ที่หุ้มทารกและน้ำคร่ำไว้ภายใน
- การหดรัดตัวกล้ามเนื้อเอ็นต่างๆที่ยึดมดลูก
- Round ligament เกาะอยู่ด้านหน้ามดลูก
- Utero-sacral ligament เกาะด้านหลังคอมดลูกบริเวณ internal os ไปยังกระดูก sacrum ข้างล่าง
- cardinal ligament ยึดเกาะคอ2 ข้างของมดลูก กับผนังด้านข้างของช่องเชิงกราน
- Cardiac output การหดรัดตัวของมดลูกแต่ละครั้ง จะมีเลือดจากมดลูกเข้าสู่ระบบไหนเวียนผดลหิตของมารดา ให้Cardiac output เพิ่มตลอดระยะการคลอด ระยะที่1 ของการคลอดการหดรัดตัวของมดลูกจะเพิ่มขึ้น
- BP ขณะมดลูกคลายความดันจะเปลี่ยนเล็กน้อย
- P ขณะหดรัดตัวจะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่ออยู่ท่านอนตะแคง ท่านอนหงายจะลดลง
- เลือดและเม็ดเลือด Hb เพิ่มและจะลดลงในวันแรกที่คลอด fibrinogenเพิ่ม ในระยะ1ของการคลอดWBCเพิ่มเป็น 15,000 cell/mm3
- หายใจ เพิ่มเล็กน้อย เนื่องจากการเจ็บครรภ์คลอดกล้ามเนื้อมีการผลิตสารที่เป็น กรด ค่าpHจึงสูงเล็กน้อย บางรายเจ็บและกลัวมากมีการระบายอากาศหายใจมากกว่าปกติ ถ้าเป็นอยู่นานจะทำให้มีการขับคาร์บอนไดออกไซด์มีออกมามากเกินไป ต่าความดันของCO2ในเลือดลดลง
- เกิดภาวะ hyperventilation ได้
- ระบบทางเดินอาหารและการเผาผลาญ การทำงานช้าหรือหยุด เคลื่อนไหวและดูดซึมของลำไส้ลดลง+มีความไม่สะดวกสบายจากการเจ็บครรภ์ทำให้อยากอาหารลดลง อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน
- ปลายระยะที่1 ของการคลอด metabolism ของคาร์โบไฮเดรตสูงขึ้น เนื่องจากกล้ามเนื้อลายทำงานมากขึ้นและความเครียดจากการเจ็บครรภ์
-
- ระบบขับถ่าย ไตกรองเพิ่มขึ้นเนื่องจากมี cardiac output เพิ่ม มีปัสสาวะมากและมักพบโปรตีนในปัสสาวะ อาจมีถ่ายปัสสาวะลำบาก เนื่องจากกระเพาะปัสสาวะมีความตึงตัวลดลงและถูกมดลูกหรือมากดเบียด
- กล้ามเนื้อและกระดูก การทำงานกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้นโดยเฉาะกล้ามเนื้อมดลูก จะปวดหลัง ปวดข้อต่างๆเนื่องจากมีการคลายตัวของเอ็นยึดกระดูกและอาจเป็นตะคริวบริเวณขาและนิ้วเท้าได้
- ต่อมไร้ท่อ ทำงานมากขึ้น หลั่งestrogen ลดลง progesterone,prostaglandins,oxytoxin เพิ่ม การเผาผลาญเพิ่ม
- วิตกกังวล,เครียด ทำให้คลอดล่าช้าได้ เนื่องจากepinephrine สูงขึ้นทำให้กล้ามเนื้อทำงานลดลง
- กลัว เกิดจากไม่เข้าใจกระบวนการคลอด ทำให้รู้สึกตกใจ เริ่มตัวตนเองและทารกจะพิการหรือเสียชีวิตระหว่างการคลอ
- อ่อนล้า หมดแรง ระยะท้ายๆของการคลอดอาจรู้สึกเหนื่อย หมดแรง อาจนอนหลับไม่สนิท นอนตะแคงนานจะปวดหลัง เมื่อนอนหงายทารกก็ดิ้นแรงมากจนตื่น และเกิดจาก estrogen,progesterone ทำให้การควบคุมของสารน้ำและ e'lyte เสียไป ทำให้สูญเสียน้ำออกจากร่างกาย ทำให้อ่อนล้าเพิ่มขึ้น
- เครียดมากขึ้น เนื่องจากผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลียมีการรับรู้ความเจ็บปวดที่รุนแรงมากขึ้น แยกตัว ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ความสามารถในการตัดสินใจลดลง อาจมีพฤติกรรมก้าวร้าว ไม่ให้ความร่วมมือ ใช้คำพูดหยาบคาย
- พยาบาลจึงต้องเข้าใจภาวะจิตสังคม ช่วยประคับประคองจิตใจ ยอมรับพฤติกรรมผู้คลอด แสดงความเห็นใจ ให้กำลังใจ ดูแลอย่างใกล้ชิด
- การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
- การหดรัดตัวของมดลูก ถี่ นานและรุนแรงขึ้น ทุก2-3 นาที นาน 60-90 วินาที ทำให้ส่วนนำทารกเคลื่อนต่ำลงมาและมีการแตกของถุงน้ำทูลหัวได้ในตอนต้นระยะนี้
- กล้ามเนื้อหน้าท้อง,กระบังลม
- เพิ่มแรงดันในมดลูกได้ 3 เท่าของแรงจากการหดรัดตัวของมดลูก ถ้าแรงเบ่งไม่ดีทำให้การเคลื่อนต่ำของส่วนนำล่าช้าหรือหยุดชะงักได้
- ทารกอยู่ลักษณะก้มมากขึ้น และเคลื่อนผ่านช่องเชิงกรานลงมาตามกลไกการคลอด
- เมื่อศีรษะเคลื่อนต่ำลงมาจะถ่างขยายช่องคลอด ทำให้เกิดการฉีกขาดของเยื่อบุช่องคลอดและมีเลือดออกเล็กน้อย พื้นที่เชิงกรานจะยืดขยายมากขึ้น
- ไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บครรภ์คลอด
- ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และประเมินความเจ็บปวด
- แนะนำให้ผู้คลอดหายใจและเบ่งอย่างถูกวิธีขณะที่มดลูกหดรัดตัว
- พูดปลอบโยและให้กำลังใจพร้อมแสดงความเห็นใจในความเจ็บปวด
- ส่งเสริมความก้าวหน้าการคลอด
-
-
- ดูแลให้ผู้คลอดรู้สึกสุขสบาย
- ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
-
- ตรวจภายในประเมินส่วนนำของทารก
- ปากมดลูกเปิด 10 cm - ทารกคลอดทั้งตัว
- อาการที่บอกว่าเข้าระยะที่ 2
- ตรวจภายในทางทวารของช่องคลอด
-
- ถุงน้ำทูนหัวแตก แต่อาจะเกิดได้ในระยะ1,2
- มีมูกเลือดออกมาเปรอะเปื้อนเป็นจำนวนมาก
- engagement ส่วนที่กว้าง ใหญ่ที่สุดของศีรษะทารก ผ่านเข้าสู่ช่องเชิงกราน
- descent การที่ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงตามช่องคลอด
- flexion การก้มของศีรษะทารกจนคางชิดหน้าอก ทำให้ส่วนนำเปลี่ยนจาก OF เป็น SOB
- internal rotation การหมุนส่วนศีรษะทารกที่เกิดขึ้นภายในช่องเชิงกรานน
- extention การที่ศีรษะทารกเงยหน้าผ่านพ้นช่องทางคลอดออกมาภายนอก
-
- expulsion การขับเคลื่อนตัวเด็กออกมาทั้งหมด
-
- early ต่อจากปากมดลูกเปิดหมด ผู้คลอดจะพักเพื่อเตียมตัวเบ่งคลอด
- descent เป็นช่วงของการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
- perineal phase ฝีเย็บเริ่มบาง โป่งตึง มองเห็นส่วนนำที่ปากช่องคลอด
-