Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสภาพมารดาหลังคลอด (13B) - Coggle Diagram
การประเมินสภาพมารดาหลังคลอด (13B)
ภาวะด้านจิตใจ (Blues)
มารดาหลังคลอดปกติ 1-2 วันแรกจะมีพฤติกรรมพึ่งพาผู้อื่น สนใจแต่ความต้องการของตนเอง หลังจากนั้นถึง 10 วันความสนใจแต่ตนเองลดน้อยลง จะเริ่มพึ่งพาตนเองและสนใจทารกมากขึ้น
ถ้าปรับตัวไม่ได้จะมีภาวะซึมเศร้า ร้องไห้ หงุดหงิด โดยอธิบายเหตุผลไม่ได้ เรียกว่า ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
(postpartum blues)
การประเมินภาวะร่างกาย (body condition)
1 ลักษณะทั่วไป ประเมินจากสีหน้า ท่าทาง ความสุขสบาย อาการอ่อนเพลีย
8น้ำหนัก ปกติน้ำหนักจะลดลง 2-3 กิโลกรัม ในช่วง 3-5 วัน
4หลอดเลือดดำอักเสบและอุดตัน ที่บริเวณขารู้สึกเจ็บและหนัก
5การพักผ่อน
3การเคลื่อนไหวของร่างกาย
6ความต้องการอาหารและน้ำ
2 ภาวะซีด ประเมินจากเยื่อบุตา เล็บ
7ความสะอาดของร่างกาย
ฝีเย็บและทวารหนัก (Bottom)
REEDAP
Edema บวม
Ecchymosis ช้ำเลือด
Discharge สารคัดหลั่งที่ออกมาจากแผล
Approximation ความเสมอกันของขอบแผล
Pain ปวด
Redness แดง
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การฉีกขาดของแคมเล็กทำให้ไม่สุขสบาย
ภูมิหลังของมารดา(Background)
ประวัติหลังคลอดในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีตและปัจจุบัน
ประวัติการเลี้ยงดูบุตรคนก่อน
ประวัติการเลี้ยงดูบุตรคนก่อน
ประวัติการคลอดในอดีตและปัจจุบัน
ข้อมูลทั่วไปของมารดา
เลือดและน้ำคาวปลา Bleeding and lochia
ลักษณะน้ำคาวปลา
จำนวน สี กลิ่น
การทํางานของลําไส้ (Bowel movement)
ลำไส้เคลื่อนไหวดีขึ้น ประเมินจากการขับถ่ายภายใน 24 hr.
หน้าท้องและยอดมดลูก (Belly and fundus)
มดลูก ตรวจดูการหดตัวของมดลูก ตําแหน่ง
ระดับของยอดมดลูก การลดระดับของยอดมดลูก อาการปวดมดลูก
สัมพันธภาพ (Bonding)
ประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดาและบุตรและสมาชิกในครอบครัว
กระเพาะปัสสาวะ(Bladder)
ประเมินการคั่งของปัสสาวะใน 24 hr แรก
เต้านมและการหลั่งน้ำนม(Breast and lactation)
ประเมินลักษณะ ขนาดของเต้านม
และขนาดของยกทรงที่สวมปกติเต้านมจะมีอาการคัดตึง คลำไม่พบก้อน
หัวนม ตรวจดูการแตกแยกเป็นแผล หัวนมสั้น หัวนมบอด หรือหัวนมบุ๋ม
น้ำนมประเมินชนิดและลักษณะของน้ำนม
ระยะเวลาของการมีน้ำนมแต่ละชนิดและปริมาณของน้ำนม
อุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิต(body temperature and blood pressure)
อุณหภูมิไม่ควรเกิน 38 องศาเซลเซียสและจะกลับสู่ภาวะปกติภายใน 24
ชั่วโมง
ชีพจร อัตราปกติ 50-90 ครั้ง/นาที ซึ่งจะกลับสู่ภาวะปกติ ภายใน 10 วัน
ในรายที่ชีพจรเต้นเร็วอาจเกิดจากการคลอดยาวนาน คลอดยาก หรือเสียเลือดมาก
ความดันโลหิต ถ้าความดันโลหิตสูงตั้งแต่ 140/90 mmHg.
ขึ้นไปอาจเกิดจากโรคความดันโลหิตสูง โรคไต หรือความวิตกกังวล
ความเชื่อเกี่ยวกับการปฏิบัติตนหลังคลอด(Belief)
ประเมินความเชื่อของการปฏิบัติตัวหลังคลอด
ให้คำแนะนำที่ถูกต้อง
ทารก (baby)
ประเมินตั้งแต่ศีรษะและใบหน้า ผิวหนัง ทรวงอก หน้าท้อง อวัยวะสืบพันธุ์
ลักษณะแขนขา ทวารหนัก สัญญาณชีพ น้ำหนัก ตลอดจนการตอบสนองต่อการกระตุ้น (reflex)
เพื่อสามารถให้คำแนะนำแก่มารดาหลังคลอดได้อย่างเหมาะสม