Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลในระยะท้ายของชีวิต แนวคิดและหลักการดูแลในระยะท่ายของชีวิต - Coggle…
การดูแลในระยะท้ายของชีวิต แนวคิดและหลักการดูแลในระยะท่ายของชีวิต
รูปแบบบริการการดูแลผู้สูงอายุระยะสุดท้ายได้
การควบคุมอาการเจ็บป่วยด้วยทีมสุขภาพ (Symptom Control Team) เป็ นทีมที่มีแพทย์เป็นผู้ ควบคุมดูแลและรับผิดชอบผู้ป่วย
ทั้งภายในโรงพยาบาลและภายในชุมชน
บริการให้คำปรึกษาและแนะนำแก่ครอบครัวของผู้ป่วยสูงอายุ
รูปแบบสถานพยาบาลกึ่งบ้าน (Hospice Care)
การดูให่การดูแลประคับประคองอาการใช่วงสุดท้ายของโรค ซึ่งรักษาไม่ได้ และจะมุ่งเน้นการรักษาคุณภาพชีวิตหลัก
การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care)
มีเป้าหมายเช่นเดียวกับ Hospice คือเป็ นการดูแลประคับประคอง
อาการ แต่จะต่างกันตรงที่ระยะเวลาในช่วงชีวิตที่เหลืออยู่ของผู้ป่วย กล่าวคือ Palliative care นั้นจะเริ่มตั้งแต่ผู้ป่ วยมีภาวะหรือโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ โดยไม่คำนึงถึงว่าผู้ป่วยจะมีชีวิตเหลืออยู่อีกนานเท่าไร
การดูแลที่บ้าน/การดูแลโดยชุมชน (Home-based/Community-based Care) เน้นการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เป็นบริการที่ตอบสนองความต้องการของคนในชุมชนและสอดคล้องกับวิถีชุมชน
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (End of life care)
เป็นการดูแลผู้ป่วยที่รู้ว่ามีระยะเวลาเหลือจำกัด ส่วนใหญ่จะนับ
ระยะเวลาประมาณ 6 เดือนก่อนเสียชีวิต
การดูแลผู้ป่วยใน (In-Patient Unit)
การตอบสนองผู้ป่วยระยะสุดท้ายภายในโรงพยาบาล โดยจะเป็นการบรรเทาอาการเจ็บป่ วยมากกว่าการรักษาพยาบาล โดยจะเป็นการดูแลระยะสั้น ๆ เพราะผู้ป่วยสูงอายุส่วนใหญ่เนื่องจากมีอาการบาดเจ็บเรื้อรังและรุนแรง
การดูแลผู้ป่วยช่วงใกล้เสียชีวิต (Terminal care)
เป็นการดูแลผู้ป่ วยช่วงใกล้เสียชีวิต คือ ประมาณ 1 สัปดาห์สุดท้าย หรือเรียกช่วงนี้ว่าระยะใกล้ตาย (Dying)
ความหมายของผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือผู้ที่หมดหวัง ผู้ป่วยที่แพทย์ให้การวินิจฉัยว่า
เป็นโรคที่ไม่สามารถจะรักษาให้หายได้ และไม่มีโอกาสที่จะใช้เวลาที่เหลือในชีวิตของตนให้เป้นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่นได้อีก
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือผู้ป่วยใกล้ตาย ผู้ป่วยที่หมดหวังจะหายจาก
โรค ป็นความเจ็บป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ด้วยวิธีการใดๆ อาการจะทรุดลงเรื่อยๆ และเสียชีวิตในที่สุด
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ได้รับการวินิจฉัยการ
เจ็บป่วยถึงขั้นสูญเสียชีวิต สามารถมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 6 เดือน
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
องค์การอนามัยโลก ได้ให้ความหมายการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือการดูแลแบบประคับประคอง ในปี ค.ศ. 2002 Palliative Care มุ่งที่จะท าให้
คุณภาพชีวิตของทั ้งผู้ป่วยและครอบครัว แบบองค์รวม
องค์ประกอบที่สำคัญของ Palliative care
การรักษาโรค (Disease management)
การดูแลด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ (Psychological and spiritual care)
การควบคุมอาการไม่สุขสบาย (Symptom control)
ผู้ป่วยระยะท้ายของ WHO เน้น 6 ด้าน
จุดเน้นในการดูแล คือ ผู้ป่วยและครอบครัวที่ถือว่าเป็นจุดศูนย์กลางของการดูแล
เป็นการดูแลแบบองค์รวม ที่เน้นการบรรเทาความทุกข์ทรมานในทุกด้าน
มีความต่อเนื่องในการดูแล
เป็นการดูแลแบบเป็นทีม
เน้นส่งเสริมระบบสนับสนุนการดูแล
เป้าหมายในการดูแลเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว
การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุระยะท้ายใกล้ตาย
สนองความต้องการในด้านต่างๆ ของผู้ป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ
ดูแลให้ผูป่วยได้ตายอย่างสมศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรเทาอาการทุกข์ทรมาน ช่วยให้ผู้ป่วยดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขมากที่สุด
ประคับประคองให้ครอบครัวของผู้ป่วยสามารถปรับตัวรับสถานการณ์ในขณะที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะสุดท้ายใกล้ตาย และในขณะผู็ป่วยเสียชีวิต
บทบาทของการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตาย 9 ประการ หรือ 9C
การติดต่อสื่อสาร (Communication)
การเยี่ยมของบุตรหลาน (Children)
ความรู้สึกสบาย (Comfort)
ความสัมพันธ์ในครอบครัว (Cohesion)
ความเข้าใจ ความเห็นใจ (Concern)
ความร่าเริงแจ่มใส (Cheerfulness)
ความสามารถ (Competence)
ความสมำ่เสมอและต่อเนื่ อง (Consistency)
การมีจิตใจที่สงบ (Calmness of mind, Equanimity)
การเปลี่ยนแปลงผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะใกล้ตาย
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
ในด้านบวก ถ้าผู้สูงอายุสามารถที่จะมองชีวิตว่าเป็นสิ่งที่เต็มไปด้วย
ความหมายและมีคุณค่าจะทำให้เกิดความรู้สึกมั่นคงทางด้านจิตใจ
ในทางลบ ผู้สูงอายุจะมีความรู้สึกเสียใจ มองว่าชีวิตนี ้ไม่มีความหมาย สิ่งที่ผู้ป่วยใกล้ตายกลัวมากคือ การอยู่อย่างโดดเดี่ยวเดียวดาย
มีความเครียด ความกังวล ความกลัวอยู่ในใจทุกคน
ปฏิกิริยาด้านอารมณ์ของผู้ป่วยที่เผชิญกับข่าวร้ายหรือการสูญเสียในภาวะใกล้ตาย ตามแนวคิดของ คูเบอร์ รอส (Kubler Ross)
ระยะปฏิเสธ (The stage of denial) การไม่ยอมรับความจริงของการวินิจฉัยโรค
ระยะโกรธ (The stage of anger)
ระยะต่อรอง (The stage of bargaining) การขอโอกาสอีกสักครั้ง จากเทพเจ้า สิ่งศักดิ์สิทธิ์ จะทำให้ผู้ป่วยมีความหวังขึ้น
ระยะซึมเศร้า (The stage of depression) อาการที่ขาดความกระตือรือร้น ท้อใจไม่สนใจคนอื่น ร้องให้ และแยกตัว เกิดจากแรงกดดันเมื่อไม่สามารถต่อรองได้สำเร็จ
ระยะยอมรับ (The stage of acceptance)
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
สิ่งที่ทำให้ความไม่สบายใจในเรื่องความตายบรรเทาลง
บางครั้งผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะใกล้ตายอาจมีความคิดว่าการที่สมาชิกในครอบครัวมาห้อมล้อมอยู่ใกล้ๆ
ความตายและภาวะใกล้ตาย เป็นสิ่งที่มองว่าเป็นข้อห้ามในการน ามาพูดและอภิปรายกันในสังคม
ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะใกล้ตายจึงมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นและสิ่งอื่นๆ ลดน้อยลง เกิดความรู้สึกอ้างว้าง ว้าเหว
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ระบบทางเดินอาหาร (Digestive system)
ระบบการทำงานของไต (Renal system)
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal system)
ระบบประสาท (Neurologic system)
ระบบหายใจ (Respiratory system)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular system)
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตวิญญาณ
โดยส่วนใหญ่เกิดภาวะบีบคั้นทางจิตวิญญาณ (Spiritual distress) คือมีความรู้ สึกวิตกกังวล กลัวความไม่แน่นอนในเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิต สงสารหรือโทษตนเอง
หากผู้ป่ วยขาดสิ่งยึดเหนี่ยวภายในจิตใจ จะทำให้ไม่สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ จึงเกิดภาวะซึมเศร้าและท้อถอย หรือก้าวร้าว
สำหรับผู้สูงอายุที่มีประสบการณ์ในภาวะใกล้ตายที่พบเห็นจากคำบอกเล่าของบุคคลอื่น และมีความเชื่อทางศาสนาและชีวิตหลังความตาย
ความต้องการด้านจิตวิญญาณ
ความต้องการความรักและความสัมพันธ์ (Love and connectedness)
ความต้องการค้นหาความหมายของชีวิตและความเจ็บป่วย (Meaning of life and illness)
ต้องการขออโหสิกรรมหรือการให้อภัย (Forgiveness)
ต้องการการปฏิบัติตามความเชื่อทางศาสนา (Religious practice)
ต้องการมีความหวัง (Hope)
การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตาย
การพยาบาลด้านจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
จัดสภาพแวดล้อมให้เป็นสัดส่วน สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อความสงบ
5.ควรให้ผู้ป่วยตระหนักใรคุณค่าชีวิตและศักดิ์ศรีของตนเอง
การติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วยสูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตาย
ช่วยให้จิตใจจดจ่อกับสิ่งดีงาม
พยาบาลควรมีบทบาทในการให้ข้อมูลที่เป็นจริงและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับเจ้าหน้าที่ทุกคน
ช่วยให้ผู้ป่ ยปล่อยวางสิ่งต่างๆ
การประเมินความต้องการและปัญหาของผู้ป วย
กล่าวคำอำลา
การพยาบาลด้านร่างกาย
อาการอ่อนล้า (Fatigue)
ค้นหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และการรักษาที่ได้รับ สนับสนุนด้านข้อมูลการรักษาอาการผิดปกติ
รักษาสมดุลของการท ากิจกรรมและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ และการจัดการอาการอื่นๆ ที่เกิดร่วมกับอาการอ่อนล้า
การนวด การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ การฝึกสมาธิ จะช่วยให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น
เบื่ออาหาร
พยายามปรับเปลี่ยนชนิดรูปแบบ รสชาติอาหารตามความพึงพอใจของผู้ป่วย
จัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายผ่อนคลายและไม่มีกลิ่นรบกวน
ควรให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารปริมาณน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
ปัญหาสุขภาพช่องปาก
จัดให้ผู้ป่ วยนอนตะแคง ดูดเอาเสมหะที่เหนียวข้นออกโดยใช้เครื่องดูดเสมหะ และท าความสะอาดปากฟันบ่อยๆ
ป้องกันภาวะปากแห้งโดยการให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ ให้จิบน้ำบ่อยๆ ดูแลให้ริมฝีปากชุ่มชื้น ทาริมฝีปากด้วยวาสลีน
การประเมินสุขภาพของช่องปาก ติดตามประเมินความผิดปกติของเยื่อบุช่องปาก
ลดอาการปวด โดยรับประทานยาแก้ปวด ดูแลให้รับประทานอาหารอ่อน หลีกเลี่ยงอาหารที่ร้อนหรือเย็นเกินไป และอาหารรสจัด
คลื่นไส้ อาเจียน (Nausea and vomiting)
ประเมินอาการและสาเหตุของการเกิด
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำก่อนและหลังอาหาร
อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจสาเหตุ การรักษาที่ได้รับ และการปฏิบัติตัวในการควบคุมอาการ
จัดท่าให้นั่งหรือนอนศีรษะสูงหลังรับประทานอาหาร จัดสภาพแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทได้ดี
ภาวะขาดน้ำ (dehydration)
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Urinary incontinence)
การดูแลแผลกดทับ
ภาวะหายใจล าบากในผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Dyspnea and death rattle)
ความปวด
อาการท้องผูก
การดูแลความสะอาดจมูกและตา
บทบาทพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุระยะสุดท้ายใกล้ตายตามความเชื่อทางศาสนา
ความเชื่อทางศาสนาคริสต์ ความตายไม่ใช่จุดสิ ้นสุด แต่เป็นจุดเริ่มต้นสู่การไปพบพระเจ้า โดยเชื่อว่าความตายเป็นเครื่องกระตุ้นให้มนุษย์มีความหวังและซื่อสัตย์ต่อพระเจ้า ชาวคาทอลิกที่กำลังจะถึงวาระสุดท้ายของชีวิต ผู้ป่วยจะได้รับศีลเจิม ซึ่งเป็นการโปรดศีลให้แก่ผู้ซึ่งกำลังป่วยหนักหรือใกล้จะเสียชีวิต
ความเชื่อทางศาสนาอิสลาม ได้แนะนำการปฏิบัติช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต ควรให้บุคคลซึ่งผู้ป่วยรักและไว้ใจมากที่สุดเป็นผู้ดูแล และเตือนให้ผู้ป่วยสำนึกผิดและขออภัยจากอัลลอฮ์และเตือนให้กล่าว “ลาอิลาฮะอิลอัลลอฮ์” ควรจัดการให้ผู้ป่วยได้นอนหันหน้าไปทางกิบลัต (ที่นครเมกกะ) โดยตะแคงด้านขวาหรือนอนหงายโดยยกศีรษะให้สูงขึ ้นหันหน้าไปทางกิบลัต
ความเชื่อทางพุทธศาสนา การท าความดี ละเว้นความชั่ว และทำจิตใจให้ผ่องใส และเห็นว่าการเกิด แก่ เจ็บ และตายเป็ นทุกข์ ศาสนาพุทธ มีประเพณี “การบอกหนทาง”ให้แก่ผู้ที่กำลังจะตาย
หลักการสำคัญของการดูแลแบบประคับประคอง
ให้ความสำคัญกับการดูแลทางด้านจิตใจของผู้ป่ วยควบคู่ไปกับการดูแลอาการทางกายเสมอ
ให้ความเคารพสิทธิของผู้ป่วยและครอบครัวในการรับทราบข้อมูลการเจ็บป่วย
ยอมรับ “การเสียชีวิต” ว่าเป็นกระบวนการตามธรรมชาติของชีวิต
มีระบบการดูแลที่บรรเทาทุกข์ทรมานของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งผู้ป่วยเสียชีวิต
บทบาทหน้าที่ของผู้ดูแลผู็สู.อายุในระยะสุดท้าย
บุคลากรด้านกฎหมาย
ผู้สนับสนุนด้านการเงิน
จิตแพทย์และนักจิตวิทยา
บุคลากรทางด้านศาสนา
นักสังคมสงเคราะห์และนักอาชีวบำบัด
สมาชิกในครอบครัวของผู้สูงอาย
บุคลากรทางด้านการแพทย์
บุคลากรอื่นๆ ที่จำเป็น ได้แก่ เพื่อนของผู้สูงอายุ เครือญาติ
ความต้องการของญาติในการดูแลผู็ป่วยระยะสุดท้าย
ความต้องการด้านการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่ วย
ความต้องการสนับสนุนทางอารมณ์
ความต้องการเข้าถึงบุคลากรสุขภาพได้ง่าย
ความต้องการด้านอื่นๆ ได้แก่ ความต้องการการดูแลสุขภาพของญาติผู้ดูแล
ความต้องการด้านการดูแลผู้ป่วย
ความต้องการด้านข้อมูล