Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด
ความหมายของการคลอด
กระบวนการที่ทารก รก เยื้อหุ้มทารก และน้ำคร่ำถูกขับออกจากโพรงมดลูกสู่ภายนอก อายุครรภ์ตั้งแต่ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
Fullterm Labor การคลอดที่เกิดขึ้น ขณะอายุครรภ์ 37 -42 สัปดาห์
Preterm Labor การคลอดที่เกิดขึ้น ขณะอายุครรภ์ 28 -36 สัปดาห์
Posttern Labor การคลอดที่เกิดขึ้น เมื่ออายุครรภ์ตั้งแต่ 42 สัปดาห์ขึ้นไป
Abortion การสิ้นสุดของการตั้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 28 สัปดาห์หรือ ทารกที่คลอดที่น้ำหนักน้อยกว่า 1000 กรัม
ชนิดของการคลอด
การคลอดปกติ (Normal labor / Eutocia)
Fulltern of Pregnancy
Vertex Presentation & Occipito Anterior
Spontaneous
การคลอดผิดปกติ (Abnormal labor or dystocia)
ใช้หัตถการช่วยคลอด เช่น เครื่องดูดสูญญากาศ คีม หรือการผ่าตัดคลอด
Stage of Labor
ระยะของการคลอด เริ่มตั้งแต่เจ็บครรภ์จริง (Onset of True Labor) หรือปากมดลูกเริ่มมีการเปิดขยายไปจนถึง 2 ชั่วโมง หลังรกคลอดครบ แบ่งออกเป็น 4 ระยะ
First Stage of Labor or Stage Cervical Dilatation
Second Stage of Labor or Stage of Expulsion
Third Stage of Labor or Stage of Placenta
Fourth Stage of Labor
เป็นระยะตั้งแต่รกคลอดครบไปจนถึง 2 ชั่วโมงหลังรกคลอดครบ
นับตั้งแต่ทารกคลอดพ้นตัวจนถึงรก และ เยื่อหุ้มทารกคลอดครบ ใช้เวลาไม่ควรเกิน 30 นาที
มีเลือดออกทางช่องคลอด (Gush) ภายหลังรกลอกออกหมดแล้ว
การลอกตัวของรกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ลอกจากตรงกลางรกก่อน (Shultze Mechanism)
ลอกจากริมรก (Duncan Mechanism)
ระยะที่ทารถถูกขับออกมาภายนอก นับตั้งแต่ปากมดลูกเปิดหมดจนถึงทำรกคลอดออกมาทั้งตัว
ศีรษะทารกมีการเงยขึ้น (Extension) (Extension) (Extension) ระยะนี้แบ่งออกเป็น 2 ช่วง Stage of descent , Perineal Phase
Onset of True Labor- Full Dilatation , Effacement 100 %
ครรภ์แรก ใช้เวลา ประมาณ 8-24 ชั่วโมง เฉลี่ย 12 ชั่วโมง ครรภ์หลังใช้เวลา ประมาณ 4-12 ชั่วโมง เฉลี่ย6 ชั่วโมง
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
Latent Phase ระยะปากมดลูกเปิดช้า
Active Phase ระยะที่ปากมดลูกเปิดเร็วขึ้นอยู่ในช่วง 4-7 เซนติเมตร
Transitional Phase ระยะเปลี่ยนผ่านเป็นระยะที่ปากมดลูกเปิด 8-10 เซนติเมตร
ปัจจัยที่ผลต่อสุขภาพทารกในระยะคลอด
ภาวะสุขภาพของผู้คลอด เช่น PIH,GDM เป็นต้น
เเรงดันจากการหดรัดตัวของมดลูกที่เพิ่มขึ้น หลอดเลือดถูกบีบ ทำให้ทารกขาดออกซิเจนชั่วขณะ ต้องประเมิน NST
ระยะเวลาของการเจ็บครรภ์คลอด
อายุครรภ์
การใช้ยาระงับ ความปวดระหว่างคลอดเช่น Morphine, Pethidine เป็นยากดศูนย์การหายใจของงทารก ส่งผลให้ทารกอาจขาดออกซิเจนได้
ภาวะแทรกซ้อนในระยะเจ็บครรภ์คลอด ได้แก่ ภาวะรกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด ถุงน้าคร่าแตกก่อนกำหนด
องค์ประกอบของการคลอด
เเรงผลักดันในการคลอด(Power)
แรงดันจากการหดรัดตัวของมดลูก (Uterine Contraction)
เป็นแรงที่เกิดขึ้นอันดับแรก (Primary Force or Power) อยู่นอกเหนือจิตใจ (Involuntary) ที่ไม่สามารถบังคับให้เกิดหรือ ยับยั้งไม่ให้เกิดได้
แรงเบ่ง (Bearing Down Effort)
เกิดจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง ทรวงอก และกระบังลม
ช่องทางคลอด (Passage of Birth Canal)
Gynecoid =>ลักษณะค่อนข้างกลมหรือรูปไข่น้อย
Android => มีลักษณะเชิงกรานผู้ชาย
Anthropoid => มีลักษณะเชิงกรานที่เป็นรูปไข่ ซึ่งมีช่องเชิงกรานลึกมากกว่าชนิดอื่น
Platypelloid Platypelloid => เป็นเชิงกรานทีมีลักษณะคล้ายแบบ Gynecoid แต่ Sacrum Curve ค่อนข้างสั้น
เชิงกรานเทียม (False Pelvis)
เชิงกรานแท้ (True Pelvis)
ช่องเข้ามีลักษณะเป็นรูปวงรีตามวงขวาง
ช่องกลาง มีรูปร่างค่อนข้างกลม
ช่องออก มีลักษณะเป็นรูปซึ่งคล้ายไข่ตั้งตามความยาวด้านหน้า -หลัง
ช่องคลอดอ่อน (Soft Passage)
เป็นกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อ
มดลูกส่วนล่าง,ปากมดลูก,ช่องคลอด,กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน และฝีเย็บ
สิ่งที่คลอดออกมา (Passenger or Uterine Content)
กระดูกหน้าผาก (Frontal Bone )จำนวน 2 ชิ้น
กระดูกข้างขม่อม (Parietal Bone ) จำนวน 2 ชิ้น
กระดูกขมับ (Temporal Bone) จำนวน 2 ชิ้น
กระดูกท้ายทอย (Occipital Bone) จำนวน 1 ชิ้น
รอยต่อ (Suture)
Frontal Suture
Sagittal Suture
Coronal Suture
Lambdoid Suture
ขม่อม (Fontanel)
ขม่อมหน้า หรือ ขม่อมใหญ่ลักษณะคล้ายขนมเปียกปูน ปิดภายหลังเมื่อทารกอายุประมาณ 16 -1สัปดาห์
ขม่อมหลัง หรือขม่อมเล็กปิดเมื่อทารกอายุประมาณ 6-8 สัปดาห์
สภาพจิตใจของผู้คลอด
ผู้คลอดมีความวิตกกังวล
ยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ทาให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงรกน้อยลง ทารกขาดออกซิเจน
สภาวะร่างกายของผู้คลอด
ส่วนสูง น้ำหนัก ความพิการ
สูงน้อยกว่า 145cm จะมีความสัมพันธ์กับภาวะเชิงกรานไม่ได้สัดส่วนกับส่วนนำ
น้าหนักมากกว่า80 kg .อาจเสี่ยงต่อการคลอดยากเนื่องจากกล้ามเนื้อขยายไม่ดี
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาระยะที่ 1 ของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูกในแต่ละครั้ง เเบ่งได้ 3 ระยะ
Increment, Acme , Decrement
หลังจากนั้นจะเป็นระยะพัก (resting period )แล้วจึงเริ่มหดรัดตัวใหม่
ระยะการหดรัดตัวของมดลูก จะเริ่มนับจากมดลูกหดรัดตัวไปจนถึงคลายตัว
Duration of contraction = (Increment + Acme Decrement )
การหดรัดตัวแต่ละครั้งจะมีแรงของการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
การเกิดรอยต่อระหว่างมดลูกส่วนบนและส่วนล่าง
Retraction เส้นใยกล้ามเนื้อมดลูกจะยืดออกไม่เท่ากับขนาดก่อนหดตัว
พื้นที่ของมดลูกส่วนบนลดลงส่งผลให้เกิดแรงผลักให้ทารกเคลื่อนต่ำ
กล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่าง จะถูกดึงให้ยืดยาวขึ้นทำให้ปากมดลูกบางและเปิดขยาย
ถ้ามดลูกส่วนบนสั้นลงและหนาขึ้นเท่าใดมดลูกส่วนล่างก็จะถูกดึงให้ยาวออกและบางลงทดแทนกัน
ให้เกิดรอยต่อระหว่างมดลูกส่วนบนและส่วนล่างเรียกว่า Physiological Retraction Ring
ปากมดลูกบางตัว
ปากมดลูกมีการเปิดขยาย(Dilatation)
ทารกจะคลอดออกมาได้ ปากมดลูกต้องเปิดเต็มที่ ประมาณ 10 เซนติเมตร (Fully Dilatation )
วงจรการเกิด Ferguson's Reflex
ต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลั่ง oxytocin
มดลูกหดรัดตัวเพิ่มมากขึ้น
ส่วนนำเคลื่อนต่ำมากดที่ปากมดลูก
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ประเมินได้จากระดับส่วนนำ
เปรียบเทียบกับ Ischial Spine เรียกว่า Station
การเกิดมูกหรือมูกเลือด(Show)
ทำให้มีเลือดปนออกมา ซึ่งมี 4 ลักษณะดังนี้
Mucous Plug
Mucous Show
Mucous Bloody Show
Bloody Show
การเปลี่ยนภายในถุงน้ำคร่ำ
แรงดันจากยอดมดลูก => บริเวณก้น => แนวกระดูกสันหลังของทารก
เรียกว่าFetal Axis Pressure
เเบ่งออกเป็น 2 ส่วน
Fore Water คือ น้ำคร่ำส่วนที่อยู่ต่ำกว่าส่วนนำ เรียก ถุงน้ำทูนหัว
Hine Water คือ ส่วนถุงน้ำที่อยู่เหนือส่วน
การเปลี่ยนเเปลงต่างๆของเอ็นที่ยึดมดลูก
Round Ligment เป็นที่ยึดจากมุมบนใต้รอยต่อระหว่างมดลูกกับท่อรังไข่
Utero - sacral Ligament เป็นเอ็นที่ยึดบริเวณคอมดลูก
Cardinal Ligament เอ็นที่ยึดกับมดลูก 2 ข้าง กับผนังด้านข้างของเชิงกราน
การเปลี่ยนเเปลงทางสรีรวิทยาระยะที่ 2 ของการคลอด
ส่วนนำของทารกเคลื่อนต่่ำมากดที่พื้นเชิงกราน
กล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อกะบังลมหดรัดตัว
เกิดลมเบ่ง
การเปลี่ยนเเปลงสรีรวิทยาระยะที่ 3 ของการคลอด
Phase of Separation เป็นระยะที่มีการลอกตัวของรกออกจากผนังมดลูก
Phase of Expulsion เป็นระยะที่รกและเยื่อหุ้มทารกถูกผลักดันออกมาภายนอก
ชนิดการลอกตัวของรก
Shultze Mechanism เริ่มจากตรงกลางรกมีเลือดที่ออกมีแข็งตัวเป็นก้อนอยู่หลังรกเรียกว่า Retroplacenta Hematoma
Matthew Dancan Mechanism เริ่มลอกตัวบริเวณริมรกก่อน มีการลอกตัว vulva sign
อาการเเสดงของรกลอกตัว
Cord Signs
เคลื่อนต่ำของสายสะดือกรณีที่ผูกเชือกทาเครื่องหมายไว้ เชือกจะเคลื่อนต่าลงมาประมาณ 8-10 เซนติเมตร
สายสะดือจะเหี่ยว คลายเกลียว คลำชีพจรไม่ได้
Vulva Signs
เลือดออกมาภายนอกปากช่องคลอดประมาณ 50 cc.
ลอกตัวเเบบ Matthew Dancan's Method
Uterine Signs
มดลูกหดตัวเเข็ง รูปร่างเเบนเป็นยาวรี เป็นกลมเเข็ง
ลอยตัวอยู่ระดับสะดือ
การเปลี่ยนเเปลงสรีรวิทยาระยะที่ 4 ของการคลอด
มดลูกมีการหดรัดตัว มีขนาดลดลงอยู่ระดับสะดือหรือต่ำกว่าเล็กน้อย ปากมดลูกจะค่อยๆปิดลง
มีแผลภายในโพรงมดลูกบริเวณที่รกเกาะและมีเลือดออกทางช่องคลอด
มารดามีอาการอ่อนเพลีย
ความจุของกระเพาะปัสสาวะเพิ่มขึ้น
ฝีเย็บมีการฉีกขาดจากการตัดหรือการฉีกขาดเอง
Cardiovascular System
ความดันโลหิต
ระยะที่ 1 ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงแต่ในขณะUC => BP เพิ่มขึ้นประมาณ 10 mmHg.
ระยะที่ 2 BP เพิ่มขึ้นประมาณ10 mmHg แม้ในขณะที่ไม่มีUCและเพิ่มมากขึ้นในระหว่างมีUC และเมื่อผู้คลอดเบ่งคลอด ประมาณ 25- 30 mmHg.
ระยะที่ 3 ของการคลอดBP ลดลงสู่ปกติหรือต่ำกว่าเล็กน้อย
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นในขณะที่มดลูกมีการหดรัดตัว
Gastrointestinal System การเคลื่อนไหวเเละการดูดซึมจะช้า ไม่ควรให้อาหารย่อยยาก
Hemopoietic System = WBC จะสูงมากขึ้นประมาณ 15,000 – 25,000
Respiratory System = ผู้คลอดจะต้องการออกซิเจนมากขึ้น
Urinary System = กระเพาะปัสสาวะถูกกดเบียดจากมดลูก ทำให้ความจุของกระเพาะปัสสาวะลดลง