Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพของมารดาทารกและผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
ระบบสุขภาพของมารดาทารกและผดุงครรภ์
องค์การอนามัยโลกกำหนดแนวทางการดูแลสตรีในระยะก่อนคลอด
(Principle of perinatal care) เพื่อช่วยลดอตัราตายของมารดา
4)จัดการดูแลให้ครอบคลุมประชากรในพื้นที่ห่างไกล
5) ใช้องค์ความรู้แบบบูรณาการจาก สหสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
3) ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลสุขภาพ
6) ดูแลแบบองค์รวม
7) เน้นการดูแลโดยยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
2) ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
8) คำนึงถึงความเหมาะสมกับวัฒนธรรมของสังคมนั้น ๆ
1) ลดการใช้ยาและหัตถการที่เกินความจำเป็น
9) การมีส่วนร่วมของสตรีในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการรักษา
10) ดูแลโดยคำนึงถึงเกียรติและศักดิ์ศรีของมนุษย์ความเป็นส่วนตัว และการรักษาความลับ
นโยบายขององค์การอนามัยโลก
1) การให้ภูมิต้านทานบาดทะยักแก่สตรีมีครรภ์
2) การป้องกันและดูแลผู้ที่เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ุและโรคติดต่อของระบบสืบพันธ์ุ
3) การป้องกันการแพร่เชื้อซิฟิลิสจากมารดาสู่ทารก
4) การดูแลในระยะตั้งครรภอ์ย่างมีประสิทธิภาพ
5) การป้องกันความผิดปกติแต่กำเนิดจากการติดเชื้อหัดเยอรมัน
6) การป้องกันความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
7) การป้องกันและการรักษาโรคมาลาเรีย
8) การให้ธาตุเหล็กและโฟเลตเสริมแก่สตรีครรภ์
9) การเตรียมสตรีมีครรภ์และครอบครัวสำหรับการคลอด
นโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพพยาบาลและผดุงครรภ์
สภาการพยาบาลได้กำหนดมาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ถือปฏิบัติตามประกาศสภาการพยาบาลเรื่องมาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๔๔
มีการเปลี่ยนแปลง ประกอบกับบริบทการพยาบาลมีความก้าวหน้ามากขึ้น และเพื่อให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของสภาการพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑สภาการพยาบาลจึงได้พัฒนา มาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์ขึ้นใหม่
โดยกระบวนการพัฒนา
มาตรฐานการพยาบาลและมาตรฐานการผดุงครรภ์ที่แล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๑ มาตรฐานการพยาบาล( NursingStandards )
๑ มาตรฐานการบริหารองค์กรพยาบาล
(Nursing Organization Standards)
มาตรฐานที่ ๑ องค์กรและการบริหารองค์กร
มาตรฐานที่ ๒ ทรัพยากรและสิ่งสนับสนุน
มาตรฐานที่ ๓ ระบบบริการการพยาบาล
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
หมวดที่ ๒ มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล (Nursing practices Standards)
มาตรฐานที่ ๑ ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
มาตรฐานที่ ๒ การรักษาสิทธิผู้ป่วยจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
มาตรฐานที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาล
มาตรฐานที่ ๔ การจดัการการดูแลต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๕ การบันทึกและรายงานการพยาบาล
หมวดที่ ๓ มาตรฐานผลลัพธ์การพยาบาล (Nursing Outcome Standards)
มาตรฐานที่ ๑ การกำหนดตัวชี้วัดสำคัญ
มาตรฐานที่ ๒ การบริหารจัดการผลลัพธ์การพยาบาล
๑.๒ มาตรฐานการผดุงครรภ์(MidwiferyStandards)
หมวดที่ ๑ โครงสร้างและการบริหารงานการผดุงครรภ์
(Midwifery Structure and Administration)
มาตรฐานที่ ๑ การบริหารงานการผดุงครรภ์
มาตรฐานที่๒ ทรัพยากรและสิ่งสนับสนุน
มาตรฐานที่ ๓ การบริการการผดุงครรภ์
มาตรฐานที่ ๔ การพัฒนาคุณภาพการผดุงครรภ์
หมวดที่ ๒ การปฏิบัติการผดุงครรภ์(Midwifery Practices)
มาตรฐานที่ ๑ การปฏิบัติการผดุงครรภ์ทั่วไป
มาตรฐานที่ ๒ การดูแลก่อนและระหว่างการตั้งครรภ์
มาตรฐานที่ ๓ การดูแลในระยะคลอด
มาตรฐานที่ ๔ การดูแลหลังคลอด
มาตรฐานที่ ๕ ปฏิบัติการผดุงครรภ์เพื่อรักษาชีวิต
มาตรฐานที่ ๖ การรักษาสิทธิผู้ป่วย จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
มาตรฐานที่ ๗ การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการผดุงครรภ์
มาตรฐานที่ ๘ การจัดการการดูแลต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๙ การบันทึกและรายงานการผดุงครรภ์
หมวดที่ ๓ ผลลัพธ์การผดุงครรภ์(Midwifery Outcomes)
มาตรฐานที่ ๑ การกำหนดตัวชี้วัดสำคัญ
มาตรฐานที่ ๒ การบริหารจัดการผลลัพธ์การผดุงครรภ์
พระราชบัญญัติและสิทธิประโยชน์
-พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
(ฉบับที่2และ 3และฉบับที่ 7 ) พ.ศ. 2562
มาตรา 39
ห้ามมิให้นายจ้างให้ลกจ้างซึ่งเป็นสตรีตั้งครรภ์ทำงานอย่างหนึ่งอย่างใด
งานเกี่ยวกับเครื่องจักรหรือเครื่องกลที่มีความสั่นสะเทือน
งานขับเคลื่อนหรือติดไปกับยานพาหนะ
งานยก แบก หาม ทูน ลาก หรือเขน็ของหนักเกิน 15 กิโลกรัม
งานที่ทำในเรือ
งานอื่นที่กำหนดตามกฎหมาย
มาตรา 39/1
ห้ามมิให้นายจ้างให้ลกจ้างซึ่งเป็นสตรีตั้งครรภ์
ทำงานในระหว่างเวลา 22.00 น. ถึงเวลา 06.00 น
ห้ามทำงานล่วงเวลา หรือทำงานในวันหยุด
ในกรณีที่ลูกจ้างซึ่งเป็นสตรีตั้งครรภ์ทำงานในตำแหน่ง ผู้บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ หรืองานที่เกี่ยวกับการเงินหรือการบัญชี นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาในวันทำงานได้โดยไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพของลูกจ้าง และไดร้ับความยินยอมจากลูกจ้างเป็นคราวๆไป
มาตรา 41
ลูกจ้างซึ่งเป็นสตรีตั้งครรภ์มีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภหนึ่งไม่เกิน 90วัน ให้นับรวมวันหยุดระหว่างวันลาด้วย(ตามพรบ.คุ้มครองแรงงาน ฉบับที่7 )
มาตรา 42
ในกรณีที่ลูกจ้างเป็นสตรีตั้งครรภ์มีใบรับรองของแพทยแ์ผนปัจจุบัน ชั้นหนึ่งมาแสดงว่า ไม่อาจทำงานในหน้าที่เดิมต่อไปได้ ใหลูกจ้างนั้ มีสิทธิขอให้นายจ้างเปลี่ยนงานในหน้าที่เดิมเป็นการชั่วคราวก่อนหรือหลังคลอดได้และใหนายจ้างพิจารณาเปลี่ยนงานที่เหมาะสมให้แก่ลูกจ้างนั้น
มาตรา 43
นายจ้างจะเลิกจ้างหรือหรือปลดออกเพราะเหตุลูกจ้างตั้งครรภ์ไม่ได้
บทกำหนดโทษ
มาตรา 144
นายจ้างผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 39 มาตรา 39/1 มาตรา 42 มาตรา 43 ต้อง
ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ
ที่นายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม มาตรา 39 มาตรา 39/1 มาตรา 42 เป็นเหตุให้ลูกจ้างถึงแก่
ความตาย ต้องระวางโทษจา คุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและความเชื่อของประชาชน
สภาพครอบครัวแตกแยกเด็กถูกทอดทิ้ง ส่งผลกระทบต่อครอบครัวมีการหย่าร้าง เพิ่มขึ้้นอาจส่งผล ต่อ
สุขภาพมารดาทารกได้
บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของพยาบาลและผดุงครรภ์
ตัดและเย็บฝีเย็บในการทำคลอดเมื่อมีความจำเป็ น
2.การใช้ยารัดมดลูกจะให้ได้ต่อเมื่อรกคลอดเสร็จเรียบร้อยเท่านั้น
การกลับท่าเด็กภายนอก (external version)
ใช้สเป็คคูลัม (speculum) ตรวจปากมดลูกในการตรวจภายหลัง
คลอด และการติดตามผลการใช้ห่วงอนามัย
5.การสวนปัสสาวะเกี่ยวกับการคลอดและหลังคลอด
ด้านการวางแผนครอบครัว ใส่และถอดห่วงอนามัยได้
ทำคลอดในรายที่มีครรภ์ปกติหรือคลอดผิดปกติในกรณีที่จำเป็น แต่ห้ามมิใหใช้คีมสูง หรือทำการผ่าตัดในการทำคลอด หรือฉีดยารัดมดลูกก่อนคลอด
การให้คำปรึกษาก่อนสมรส
์เป็นการดูแลสุขภาพของสตรีวัยเจริญพนัธุ์และคู่สมรสเพื่อให้
มีสุขภาพที่ดีท้้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ก่อนการตั้งครรภ์อย่างน้อย 3 เดือนถึง 1 ปี
การใช้ชีวิตคู่
การตรวจร่างกายก่อนสมรสและก่อนมีบุตร
การดูแลสุขภาพอนามัย
การกระทำผิดกฎหมายอาญาที่พบได้ในขณะปฏิบัติงานทางด้านสูติกรรม
ความผิดฐานทำหรือรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ
การออกคำรับรองต่างๆ
คำรับรองบางประการอาจเป็นหนา้ที่ของพยาบาลและผดุงครรภเป็นผอู้อกให
ความผิดฐานทำให้แท้งลูก
ความผิดฐานประมาทในการประกอบวิชาชีพ
ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกบัภาวะสุขภาพมารดาและทารก
ระยะคลอด
ส่งเสริมให้ใช้วิธีบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอดตามธรรมชาติ
จัดสิ่งแวดล้อมใหเ้หมาะสมกับความต้องการของผู้คลอดและสามี
ระยะหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาทั้งในรายปกติและรายที่มีภาวะแทรกซ้อน
ติดตามช่วยเหลือในการปรับบทบาทการ
เป็นมารดา บิดา
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดา บิดา ทารกด่วยวิธีการสัมผัส
ระยะตั้งครรภ
ให้อิสระในการเปลี่ยนแปลงวิธีการดูแล
เตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือและส่งต่อ
วางแผนการดูแลรักษาร่วมกัน
ปรับเปลี่ยมสัมพันธภาพ(partnership)
ให้ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยและถูกต้องอย่างพอเพียง
นโยบายระบบสุขภาพ หลักประกันสุขภาพสิทธิประโยชน์
ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลมารดาและทารก
สิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลมารดาและทารกได้นำข้อกำหนดมาตรฐานการดูแลสตรีตั้งครรภ์และทารก (standards for maternal and neonatal care) ขององค์การอนามัยโลก
1.การป้องกันและการรักษาโรคมาลาเรีย
2.การให้ภูมิต้านทานบาดทะยักแก่สตรีตั้งครรภ์
การดูแลในระยะตั้งครรภอ์ย่างมีประสิทธิภาพ
4.การให้ธาตุเหล็กและโฟเลตเสริมแก่สตรีตั้งครรภ์
5.การป้องกันการแพร่เชื้อซิฟิลิสจากมารดาสู่ทารก
6.การเตรียมสตรีตั้งครรภแ์ละครอบครัวสำหรับการคลอด
7.การป้องกันความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง (neural tube defect)
8.การป้องกันดูแลผู้ที่มีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ุและโรคติดต่อของระบบสืบพันธุ์
9.การป้องกันความผิดปกติแต่กำเนิดจากการติดเชื้อหัดเยอรมัน (rubella syndrome)
สิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลมารดาและทารกในประเทศไทย
สิทธิการรักษากองทุนประกันสังคม
สิทธิเบิกจ่ายค่าตรวจครรภ์และฝากครรภ์
สำนักงานประกันสังคมได้เพิ่มค่าตรวจและค่ารับฝากครรภ์ต้ังแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2561 ให้กับผู้ประกันตนสำหรับคนท้องอีก1,000 บาท
ฝากครรภ์โดยมีอายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 20 สัปดาห์จ่ายให้ในอัตราที่จ่ายจริงไม่เกิน 300 บาท
ฝากครรภ์โดยมีอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 28 สัปดาห์จ่ายในอัตราที่จ่ายจริงไม่เกิน 200 บาท
ฝากครรภ์โดยมีอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์จ่ายให้ในอัตราที่จ่ายจริงไม่เกิน 500 บาท
กรณีเงินสงเคราะห์บุตร มีสิทธิได้คราวละไม่เกิน 3 คน (ฉบับเก่าได้รับเงินสงเคราะห์บุตรอายุ0- 6ปีคราวละไม่เกิน 2 คน) เหมาจ่ายรายเดือนๆละ600 บาทต่อคน
กรณีคลอดบุตร มีสิทธิได้รับบริการคลอดบุตรไม่จำกัดจำนวนคร้ัง
(ฉบับ เก่าได้รับบริการ 2 คร้ัง)
เหมาจ่ายครั้งละ 13,000 บาท เงินสงเคราะห์การหยุดงาน 90 วัน
สิทธิการลาคลอด
มารดาทุกคนมีสิทธิลาคลอดได้ 90วัน (3 เดือน)
ข้าราชการและลูกจ้างประจำลาคลอดได้ 90 วัน
โดยได้รับเงินเดือนเต็มและลาต่อเพื่อเลี้ยงบุตรอีก 150วัน โดยไม่ได้รับเงินเดือน
ลูกจ้างชั่วคราว มารดาที่เป็นลูกจ้างตามกฎหมายแรงงานลาคลอดบุตรได้90วัน โดยรับเงินจากหน่วยงาน 45วัน จากประกันสังคม 45 วัน
ข้าราชการชายสามารถลาคลอดเพื่อช่วยภรรยาที่คลอดบุตรโดยได้รับเงินเดือนเต็มได้ไม่เกิน 15วันทำการ
สิทธิการรักษากองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ
เมื่อสตรีตั้งครรภ์มีสิทธิการรักษากองทุนหลักประกันสุขภาพที่ใด ต้องไปใช้บริการที่นั้น กรณีที่สามีมีสิทธิประกันสังคมต้องรักษาตามสิทธิของภรรยาก่อน (หลังคลอดสามีสามารถยื่นหลักฐานการเป็นบิดาทารกและเบิกเงินจากประกันสังคมได้13,000 บาทต่อคร้ัง)
กรณีที่สตรีตั้งครรภ์มีสิทธิการรักษากองทุนหลักประกันสุขภาพโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่ง แต่เกิดเหตุฉุกเฉินต้องรับการรักษาโดยด่วน สามารถใช้สิทธิการรักษากองทุนหลักประกัน สุขภาพ เข้ารับบริการในโรงพยาบาลรัฐอีกแห่งได้