Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกําหนดตําแหน่งวัตถุท้องฟ้า - Coggle Diagram
การกําหนดตําแหน่งวัตถุท้องฟ้า
การบอกตําแหน่งบนโลก
สมบัติบางประการของโลก
กําหนดให้วงกลมใหญnบนผิวโลกที่อยู่ห่างจากขั้วเหนือ และขั้วใต้
เท่ากันเป็นเส้นศูนย์สูตร
เรียกระนาบของเส้นศูนย์สูตร ซึ่งมีลักษณะเป็นแผนกลมว่า
ระนาบศูนย์สูตร
วงกลมใหญ่ที่ผ่านขั้วเหนือขั้วใต้ และตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร คือ เมริเดียน ในทางปฏิบัตินิยมคิดเพียงครึ่งวง คือ ระยะจากขั้วเหนือผ่านเส้นศูนย์สูตรจนถึงขั้วใต้
วงกลมเล็กที่ขนานกับเสนศูนย์สูตรและตั้งได้ฉากกับเมริเดียน วงกลมเล็กเหลnานี้คือละติจูดขนาน หรือเส้นรุ้ง
ลองจิจูดและละจิจูด
มุม ณ จุดศูนย์กลางของโลกที่รองรับด้วยส่วนโค้งบนผิวโลก ณ ที่หนึ่ง ๆ ค่าที่ใช้บอกแต่ละตําแหน่ง
คือ ลองจิจูด(longitude “T”) และ ละติจูด (latitude “I”)
ลองจิจูดของตําแหน่งใด
คิดเป็นองศาลิปดาและ
พิลิปดา
ก็คือ ค่าของระยะทางตามมุมที่วัดจากเมริเดียนของกรีนิชไปทาง
ตะวันออกหรือตะวันตก
มีค่าตั้งแตn 0 – 180 องศาตะวันออกหรือตะวันตก
หรือใช้เครื่องหมาย + แทนตําแหนnงที่อยู่ทาง
ตะวันออกของกรีนิช และเครื่องหมาย – แทนตําแหน่งที่อยู่ทางตะวันตกของกรีนิช
ละติจูดของตําแหน่งใด
ค่าของระยะทางตามมุมที่วัดจากเส้นศูนย์สูตรไปทางเหนือ หรือ
ทางใต้ตามเมริเดียนซึ่งผ่านตําแหน่งนั้น
คิดเป็นองศาลิปดาและพิลิปดา
มีค่าตั้งแตn 0 – 90 องศาเหนือหรือใต้
ใช้เครื่องหมาย + กับ –แทนตําแหน่งที่อยู่ทางเหนือและทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร
สมบัติของทรงกลมท้องฟ้า
ทรงกลมท้องฟ้ามีลักษณะคล้ายทรงกลมกลวง
เนื่องจากผิวทรงกลมท้องฟ้าปรากฏอยู่ไกล
สุดสายตาจึงมีรัศมีไกลสุดสายตาหรือมีค่าอนันต์
ตําแหน่งจุดศูนย์กลางของทรงกลมท้องฟ้าไม่แน่นอน
การบอกตําแหน่งบนผิวทรงกลมท้องฟ้า ให้ระยะทางตามมุม คิดเป็นมุม ณ จุดศูนย์กลาง
ทรงกลมท้องฟ้าปรากฏหมุนรอบตัวเองครบรอบ
ในเวลา 1 วันเช่นเดียวกับโลก แต่หมุนใน
ทิศทางที่สวนกัน
ถ้าต่อแนวแกนสมมติของโลกออกไปทางขั้วเหนือและขั้วใต้จนจรดท้องฟ้าจะได้ตําแหน่งขั้วเหนือท้องฟ้าและขั้วใต้ท้องฟ้า
ระบบการบอกตําแหน่งบนทรงกลมท้องฟ้า
ระบบขอบฟ้า
เป็นการบอกตําแหนnงดาวเพื่อให้รู้ว่าดาวอยู่เหนือขอบฟ้าเป็นระยะทางตามมุมเท่าใด และอยู่ห่างจากตําแหน่งเทียบบนขอบฟ้ามากน้อยเพียงใด
เซนิท (zenith) เป็นตําแหน่งบนทรงกลมท้องฟ้าที่อยู่ในแนวตรงกลางศีรษะพอดี
เนเดอร์ (nedir) เป็นตําแหน่งบนทรงกลมท้องฟ้าที่อยู่ตรงข้ามกับเซนิท
เส้นขอบฟ้า คือ วงกลมใหญ่บนทรงกลมท้องฟ้าที่อยู่ห่างจากเซนิทและเนเดอร์เท่ากันเท่ากับ 90องศา
วงกลมดิ่ง (prime vertical) คือ วงกลมใหญ่บนทรงกลมท้องฟ้าที่ลากผ่านเซนทกับเนเดอร์และตั้งได้ฉากกับเส้นขอบฟ้า
เมริเดียนท้องฟ้า (celestial meridian) คือวงกลมดิ่งที่ผ่านเส้นขอบฟ้า ณ ตําแหน่งเหนือและใต้
วงกลมดิ่งต้น (prime vertical) คือ วงกลมดิ่งที่ผ่านเส้นขอบฟ้า ณ ตําแหน่งตะวันออกและตะวันตก
แอซิมัท (azimuth) เป็นระยะทางตามมุมที่วัดจากตําแหน่งเหนือไปตามเส้นขอบฟ้าจนถึงวงกลมดิ่งที่ผ่านดาว มีหน่วยเป็นองศาลิปดาและพิลิปดา
อัลติจูด (altitude) เป็นระยะทางตามมุมที่วัดจากเส้นขอบฟ้าขึ้นไปตามวงกลมดิ่งที่ผ่านดาวจนถึงดาวดวงนั้น มีค่าตั้งแตn 0 – 90 องศา
ระยะทางจากเซนิท (zenith distance) เป็นระยะทางตามมุมที่วัดจากจุดเซนิทตามวงกลมดิ่งจนถึงดาว มีค่าตั้งแต่ 0 – 90 องศา
ระบบศูนย์สูตร
วงกลมชั่วโมง (hour circle) คือ วงกลมใหญ่ที่ผ่านขั้วเหนือและขั้วใต้ท้องฟ้า และตั้งได้ฉากกับเส้นศูนยสูตรท้องฟ้า
เวอร์นัล อีควินอกซ์
หมายถึงตําแหน่งที่ดวงอาทิตย์โคจรบนสุริยวิถี (ecliptic) ตัดกับเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า
ตําแหน่งนี้ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม
ไรท์แอสเซนชัน
เป็นระยะทางตามมุมที่วัดจากจุดเวอร์นัล
อีควินอกซ์ ไปทางตะวันออกตามเสนอศูนย์สูตรท้องฟ้า
มีค่าตั้งแต่ 0 – 36 องศา หรือ 0 –24 ชั่วโมง
เดคลิเนชั่น
เป็นระยะทางตามมุมที่วัดขึ้นไปทางเหนือ หรือลงไปทางใต้ของเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้า
คิดเป็นองศาเหนือหรือ
ใต้ หรืออาจใช้เครื่องหมาย + กับ –
ระบบสุริยวิถี
เส้นทางเดินปรากฏของดวงอาทิตย์ผ่านกลุ่มดาวต่าง ๆ ในรอบปี
ระนาบสุริยวิถีจะเอียงทํามุมระนาบศูนย์สูตรท้องฟ้าประมาณ 23 ½ องศา จุดตัดของระนาบทั้ง
สอง เรียกวnา อีควินอกซ์
ขั้วเหนือสุริยวิถีและขั้วใต้สุริยวิถี
ตรงส่วนตัดจะเป็นระนาบสุริยวิถีตรงผิว
ทรงกลมจะมี 2 จุดที่อยู่ห่างจากระนาบสุริยวิถีเทnากับ 90 องศาเท่ากัน
ลองจิจูดท้องฟ้า
เป็นระยะทางตามมุมที่วัดจากตําแหน่งเวอร์นัลอีควินนอกซ์ไปทางตะวันออกตามแนวสุริยวิถี
จนถึงวงกลมใหญ่ที่ผ่านขั้วสุริยวิถีทั้งสองและผ่านดาวดวย
มีค่าตั้งแต่ 0 – 360 องศา
ละติจูดท้องฟ้า
เป็นระยะทางตามมุมที่วัดจากสุริยวิถีไปทาง
เหนือหรือใต้ ตามวงกลมใหญ่ที่ผ่านขั้วสุริยวิถีทั้งสองและผnานตําแหน่งดาว
มีค่าตั้งแต่ 0 – 90 องศาเหนือ และ 0 – 90 องศาใต้จากสุริยวิถี