Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระยะตั้งครรภ์, ss - Coggle Diagram
ระยะตั้งครรภ์
การฝังตัวของไข่
Preembryonic Development
-
-
3.Blastocyst : 7 วันจะไม่มี zona pellucida เตรียมตัวสำหรับการฝังตัวในเยื่องผนังมดลูกชั้น endometrium
-
Embryonic
- Embryonal peroid: 2-8 สัปดาห์หลังปฏิสนธิ เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์
-
-
-
-
-
เอ็มบริโอ (Embryo) : ยื่นส่วนอ่อนนุ่มคล้ายนิ้วมือแทรกลึกลงไปในผนังมดลูกเพื่อสร้างทางติดต่อเลือดกับแม่ และเจริญไปเป็นรก มีการสร้างสายสะดือและถุงน้ำคร่ำห่อหุ้มต่อไป ต่อไปแต่ละชั้นก็สร้างเป็นอวัยวะต่างๆของร่างกายนั่นเอง ในอีก 8 สัปดาห์ต่อมาเรียกว่า Fetus
- Wk ที่3 : เริ่มมีการเจริญเติบโตของระบบไหลเวียนโลหิต
inner cell mass จะแบ่งตัวออกเป็น 3ชั้น
- Ectoderm : ผิวหนัง ขน ผม เล็บ ต่อมน้ำมัน ต่อมน้ำลาย ต่อมน้ำมูก เซลล์ประสาท เนื้อสมอง
- Mesoderm : กระดูก กล้ามเนื้อ กระดูกอ่อน เอ็น ไต ท่อไต รังไข่ อัณฑะ หัวใจ เยื่อหุ้มปอด
- Endoderm : เยื่อบุลำไส้ เยื่อบุระบบทางเดินหายใจ กระเพาะปัสสาวะ ต่อมไทรอยด์ เยื่อหุ้มตับและตับอ่อน
-
-
-
สัปดาห์ที่ 7-8 : รูปร่างเป็นคนชัดเจน อวัยวะภายในเกิดครบทุกอย่าง อวัยวะสืบพันธ์ภายนอกมีแล้วแต่ยังไม่สามารถแยกเพศได้
Fetal development
สัปดาห์ที่ 9 จนถึง 40+- สัปดาห์ หลังปฏิสนธิ จะเป็นเรื่องของ growth & maturation ช่วงแรกจะเป็นการเพิ่มขนาด ในช่วงหลังเป็นการเพิ่มน้ำหนัก
-
-
-wk.ที่ 18-20 : มี การเคลื่อนไหว (quickening) รู้สึกได้ในมารดาครรภ์แรก ลำตัวเริ่มมีไขปกคลุม มีขนอ่อนเกิดขึ้น
- สัปดาห์ที่ 24: ยาว 30 ซม. หนัก 600 กรัม ศีรษะและลำตัวเริ่มได้สัดส่วน ฟังเสียงหัวใจได้ชัดเจน ตาทารกเริ่มลืมและนิ้วมือเริ่มมีลายนิ้วมือ,เล็บ เริ่มมีขนคิ้ว แต่ผิวหนังยังไร้ไขมัน
-
- สัปดาห์ที่ 32 :ยาว 40 ซม. หนัก 1700 –
1800 กรัม ทารกในครรภ์จะมีการเคลื่อนไหว เช่น จาม ดูดมือ ดูดนิ้วเท้า
- สัปดาห์ที่ 36 : ยาว45 ซม. หนัก 2200 กรัม ขนอ่อนตามตัวจะค่อยๆหายไป ผมจะหนาและนุ่มขึ้น ใบหุมีกระดูกอ่อน เด็กผู้ชายอัณฑะจะเคลื่อนมาอยู่บริเวณ Inguinal canal ถุงอัณฑะมีรอยย่นเล็กน้อย
- สัปดาห์ที่ 40 : ยาว 50 ซม. หนัก 2500กรัม ผิวหนังสีชมพู มีไขมันตามลำตัวมาก ร่างกายสมบูรณ์ มีอวัยวะครบถ้วน
PLACENTAL DEVELOPMENT
-
-
-
-
-
การไหลเวียนของเลือดในรก
The maternal portion
มีลักษณะขรุขระ มีเนื้อสีแดง เห็น cotyledon เป็นก้อนชัดเจน ปกคลุมด้วย decidua ที่ติดต่อ เป็นผืนเดียวกันกับ chorion
-
-
Placenta function
1. Endocrine function
- Human chorionic gonadotropin (HCG)
- Humanplacental lactogen (HPL)
- Steriod horman progesterone
-
Simple diffusion : O2 , CO2 , e’ lyte
Active transport : Iron , ascorbid acid
-
-
ลักษณะของรกที่ผิดปกติ
1. Placenta velamentosa
สายสะดือเกาะอยู่บนเยื่อหุ้มเด็กชั้น chorion และมีแขนงของเส้นเลือดจากสายสะดือ ทอดต่อไปถึง chorionic plate อีกทีหนึ่ง
-
-
-
-
Fetal membrane
-
Amnion
เยื่อหุ้มเด็กชั้นใน ห่อหุ้มน้ำคร่ำรอบๆ ตัวเด็กลอกจากชั้น chorion & chorionic plate จนถึงที่เกสะของสายสะดือ
-
-
-
-
-
-
-
-
ระบบการหายใจ
wk.4 – 17 : larynx ,trachea , bronchi ,lung bud
-
-
-
-