Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือทางดาราศาสตร, นายนฤเบศ ผิวอ่อนดี 6120602062 F76-3 - Coggle…
เครื่องมือทางดาราศาสตร
ประวัติการสร้างกล้องโทรทรรศน์
ในปี พ.ศ.2151 Hans Lippershey ได้ค้นพบหลักและคุณสมบัติของเลนส์นูนและเลนส์เว้าโดยบังเอิญ เมื่อกาลิเลโอได้ทราบข่าวการค้นพบนี้ เขามองเห็นประโยชน์ที่จะนําไปใช้สร้างกล้องโทรทรรศน์สําหรับดาราศาสตร์อันแรกขึ้น โดยมีขนาด 1 ¾ นิ้ว มีกําลังขยายสูงสุด 32 เท่า
ในปี พ.ศ.2154 เคปเลอร์ได้แก่ไขปรับปรุงกล้องโทรทรรศน์ของกาลิเลโอ โดยเปลี่ยนเลนส์ตาให้เป็นเลนส์นูน ทำให้สามารถมองเห็นภาพได้กว้างกว่าของกาลิเลโอมาก
ในปี พ.ศ. 2215 นิวตันได้สร้างกล้องโทรทรรศน์โดยใช้กระจกเว้าแทนเลนส์ นับว่านิวตันเป็นบุคคลแรกที่ได้สร้างกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง
ในปี พ.ศ.2266 John Hadley สามารถแก้ปัญหาความคลาดทรงกลมได้สําเร็จ ด้วยวิธีการทําให้ผิวสะท้อนแสงนั้นเป็นผิวโค้งแบบพาราโบลา (Parabolized Reflect)
ในปี พ.ศ.2332 Sir William Herschel ได้สร้างกล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสงขนาดใหญ่ขึ้น มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 48 นิ้ว ความยาวโฟกัส 40 ฟุต เป็นกล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใหญ่มากในขณะนั้น ทําให้เขาค้นพบดาวยูเรนัสเป็นคนแรก
ชนิดกล้องโทรทรรศน์
กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง (Refracting Telescope)
มีส่วนประกอบที่สําคัญ
เลนส์วัตถุ (ObjectiveLens)
เลนส์ตา (Eyepiece)
เลนส์วัตถุจะอยู่ข้างหน้ากล้อง
กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (Reflecting Telescope)
ใช้กระจกเว้าสะท้อนแสง เรียกว่า กระจกวัตถุ (Objective Mirror)
กําลังขยายของกล้องโทรทรรศน์
มองวัตถุผ่านทางเลนส์ตา จะเห็นภาพใหญ่กว่าหรือใกล้กว่าเมื่อมองดูด้วยตาเปล่า
อัตราส่วนระหว่างขนาดของภาพกับขนาดของวัตถุเรียกว่า กําลังขยายของกล้อง
ค่าของความสว่าง
ความสว่างของภาพ คือ ปริมาณพลังงานแสงที่ตกลงบน 1 หน่วยพื้นที่ของภาพ ต่อ 1 หน่วยเวลา
ความสว่างของภาพขึ้นอยู่กับขนาดของเลนส์วัตถุ
ความสว่างของดาวสามารถคํานวณได้ โดยใช้ความสัมพันธ์ของขนาดเลนส์และความยาวโฟกัสของเลนส์นั้น
การติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ (Mounting)
แบบฐานตั้งอัลตาซิมัท (Altazimuth mounting)
ฐานตั้งอีเควตอเรียล (Equatorial mounting) แบบเยอรมัน (German mounting)
ฐานตั้งอีเควตอเรียแบบอังกฤษ (English mounting)
นายนฤเบศ ผิวอ่อนดี 6120602062 F76-3