Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดปกติ, นางสาวพัชรินทร์ ยางธิสาร 180101068 - Coggle Diagram
การคลอดปกติ
กลไกการคลอดปกติ
การก้มของศีรษะทารกจนคางชิดกับหน้าอก ทำให้ส่วนนำของทารกเปลี่ยนจากเส้นผ่านศูนย์กลาง occpitotrontal (OF) เซนติเมตรมาเป็น suboccipito bregimatic (SOP) การคลอดจึงเป็นไปได้ง่ายขึ้น เพราะทารกใช้เส้นผ่านศูนย์กลางที่เล็กที่สุดเป็นส่วนนำที่จะผ่านช่องคลอดออกมา
การที่ส่วนกว้างที่สุดของศีรษะทารก biparietal diameter ผ่านเข้าสู่ช่องเชิงกราน โดยรอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวขวาง (transverse) หรือแนวเฉียง (obique) กับช่องเชิงกรานเชิงกรานชนิดอื่น ๆ
การที่ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงไปในช่องเชิงกรานเกิดจากแรงดันของน้ำคร่ำแรงดันโดยตรง ที่ยอดมดลูกดกก้นทารกลงมา ขณะมดลูกหดตัวรัดการหดรัดของกล้ามเนื้อผนังหน้าท้องมดลูกและการยัดยาวออกของลำตัวทารกจาก fetal axis pressure
การหมุนของศีรษะภายในช่องเชิงกรานให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับช่องออกเชิงกรานมากที่สุด เวลาทารกต้องหมุนท้ายทอยไปทางด้านหน้า (OA) เพื่อให้แนวต่อแสกกลางอยู่ในแนวหน้าหลัง (anterior posterior) ซึ่งเป็นแนวที่กว้างที่สุดของช่องออกเชิงกรานจึงสามารถคลอดปกติได้
คือการที่ศีรษะรกเงยหน้าผ่านพ้นช่องทางคลอดออกมาภายนอก โดยเมื่อมีการหมุนของศีรษะทารกแล้วทารกจะใช้ส่วน subocciput เป็นจุดหมุนยันกับได้รอยต่อกระดูกหัวเหน่า
การหมุนกลับของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด เพื่อสัมพันธ์กับส่วนของทารกที่อยู่ภายในช่องคลอด เพื่อให้รอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวหน้าหลังของช่องเชิงกราน
7.External rotation
การหมุนของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด เพื่อให้ศีรษะและไหล่จั้งฉากกันตามธรรมชาติภายหลังจากเกิดการหมุนภายในของไหล่
การขับเคลื่อนเอาตัวทารกออกมาทั้งหมด โดยนับตั้งแต่หลังจากการหมุนภายนอกของศีรษะเป็นต้นไป ได้แก่ การคลอดไหล่ลำตัวแขนและขาของทารก
-
องค์ประกอบการคลอด
-
-
- สิ่งที่คลอดออกมา (passengers) ได้แก่ ทารก รก เยื่อหุ้มทารกและน้ำคร่ำ
-
-
- ท่าของผู้คลอด (Position of labor)
การตรวจรกและตรวจสายสะดือ
การตรวจรกด้านเด็ก
-
-
3.การแผ่ของเนื้อรก
placenta membranecea ปกติเนื้อรกจะอยู่ในขอบเขตของ closing ring of winkle waldeyer ซึ่งเป็นวงสีขาวรอบเนื้อรกวงสีขาวนี้เกิดจากการเชื่อมต่อกันของ decidua capsularis และ deciduavera ซึ่งเป็นการ จำกัด ขอบเขตของเนื้อรกไม่ให้เจริญเติบโตมากกว่าปกติ
การตรวจรกด้านแม่
-
1.สีและลักษณะรกที่มีลักษณะบวมพองและสีซีดมักพบในทารกที่เป็น hydrop fetalis ถ้ารกมีน้ำหนักปกติ แต่มีสีซีดอาจเนื่องมาจากมีการเสียเลือดจากรกไปมากจากการฉีกขาดของเนื้อรก
2.ความสมบูรณ์ของ cotyledon ตรวจดูว่า cotyledon ขาดหายไปหรือไม่ถ้ามีการขาดหายไปจะตรวจพบว่ามีการแหว่งหายไปของเนยรกแสดงว่าอาจมีบางส่วนค้างในโพรงมดลูก.
3.เนื้อตาย (infraction) และแคลเซียมเกาะที่เนื้อรก (calcification) เนื้อตายของรกที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ จะมีสีแดงเข้มแยกได้จากรกปกติถ้าเนื้อตายเกิดนานเกิน 10-14 วันจะตรวจพบก้อนสีน้ำตาลถ้าเกิดนานเกิน 14 วันขึ้นไปจะตรวจพบก้อนแข็งสีขาว
การตรวจเยื่อหุ้มเด็ก
Chorion เป็นเยื่อหุ้มเด็กด้านที่ติดกับผนังมดลูกมีสีขาวขุ่นไม่เรียบฉีกขาดง่าย Amnion เป็นเยื่อหุ้มเด็กด้านที่ติดกับตัวเด็กมีลักษณะเหนียวและบางใสเป็นมันเส้น
-
-
-
-
-
การตรวจสายสะดือ
1.สีและลักษณะของสายสะดือ
สายสะดือปกติจะมีสีขาวใสเหลือบน้ำเงินพันเป็นเกลียวถ้าตรวจพบว่าสายสะดือมีลักษณะเปื่อยง่ายแสดงว่าเกิดการติดเชื้อสายสะดือมีสีเหลืองแสดงว่าทารกอาจมีโรคเลือด
2.ความยาวของสายสะดือ
ปกติสายสะดือมีความยาว 35-100 ซมปีสายสะดือที่สั้นกว่าปกติอาจทำให้เกิดการดึงรั้งขณะทารกอยู่ในครรภ์มารดาและทำให้รกลอกตัวก่อนกำหนดคลอดยากสายสะดือที่ยาวกว่าปกติจะทำให้เกิดสายสะดือย้อย (Prolapse cord) สายสะดือพันคอหรือสายสะดือพันกันเอง
3.เส้นเลือดที่สายสะดือ
จะมีเส้นเลือดแดง 2 เส้นและเส้นเลือดดำ 1 เส้นเส้นเลือดดำจะมีขนาดใหญ่กว่าเส้นเลือดแดงจึงทำให้เห็นเส้นเลือดดำได้ชัดเจนกว่าถ้าตรวจพบว่ามีเส้นเลือดไม่ครบแสดงว่าทารกอาจมีความผิดปกติของอวัยวะภายใน
4.ปมที่สายสะดือ (knot)
False knot สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ false vascular knot ซึ่งเกิดจากเส้นเลือดดำขมวดรวมตัวกันเป็นกลุ่มมีลักษณะคล้ายเส้นเลือดขอด false knot อีกชนิดหนึ่งคือ false vascular knot มีลักษณะเป็นปมสีขาวเกิดจาก Wharton jelly ที่หุ้มรอบเส้นเลือดที่สายสะดือรวมตัวกันเป็นปม
True knot เกิดจากสายสะดือผูกกันเป็นปมแน่นเหมือนผูกเชือกเนื่องจากสายสะดือยาวมากและทารกเคลื่อนไหวขณะอยู่ในครรภ์ทำให้ตัวทารกลอดสายสะดือไปมาจนผูกกันเป็นปม
การเกาะของสายสะดือ
-
-
เกาะบนเยื่อหุ้มเด็ก (membranous insertion หรือ insertio velarmentosa) สายสะดือจะเกาะบนเยื่อหุ้มเด็กและมีเส้นเลือดทอดไปเชื่อมกับรก
เกาะริมขอบรก (marginal insertion หรือ battledore) การเกาะแบบนี้มีลักษณะคล้ายไม้เทนนิสทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดได้
การทำคลอดปกติ
การทำคลอดศีรษะ
- เมื่อผู้คลอดเบ่งจนศีรษะทารกโผล่ออกมา ปากช่องคลอดซึ่งศีรษะทารกจะไม่ผลุบกลับเข้าไปในช่องคลอด เมื่อมดลูกคลายตัวหรือผู้คลอดหยุดเบ่งเรียกว่า crowning
- ให้ผู้คลอดเบ่งตามจังหวะการหดรัดตัวของมดลูก จนกระทั่งเห็นศีรษะทารกโผล่ประมาณ 3-4 เซนติเมตร ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลางของมือข้างที่ไม่ถนัดแตะไว้บนศีรษะทารก กดศีรษะ เพื่อควบคุมไม่ให้ศีรษะเงยขึ้นก่อนกำหนด ส่วนมือข้างที่ถนัดให้ใช้นิ้วหัวแม่มืออยู่ด้านหนึ่ง อีก 4 นิ้วอยู่อีกด้านหนึ่งวางไว้ใต้ฝีเย็บ
- เมื่อหน้าผากผ่านพ้นปากช่องคลอดออกมาแล้ว ให้ใช้มือที่ควบคุมบริเวณท้ายทอยโกยศีรษะที่อยู่บริเวณเหนือขอบแย็บ ให้เงยขึ้นพร้อมกับมืออีกข้างรวบบริเวณแย็บ ดันหน้าทารกให้เงยขึ้นช้าๆจนคางผ่านพ้นแย็บ
- ภายหลังศีรษะทารกเกิดแล้ว ห้ามมิให้ผู้คลอดเบ่งโดยให้อ้าปากหายใจทางปากยาว ๆ ลึก ๆ หรือร้องอา ๆ แต่ถ้าผู้คลอดรู้สึกว่าจะกลั้นเบ่งไว้ไม่ได้ ให้บอกผู้ทำคลอดทันทีเช็ดมูกที่ปกคลุมบริเวณตาทารกด้วยสำลีชุบน้ำเกลือล้างแผลก้อนละข้าง โดยเช็ดยากหัวตาจนตลอดถึงหางตา
- ใช้ลูกสูบยางแดงที่สูบลมออกหมดแล้วดูดมูกจากปากภายในลำคอจนหมด ระยะนี้สำคัญมากเนื่องจากขณะนี้ทรวงอกของทารกผ่านเข้ามาในช่องเชิงกรานและจะถูกบีบทำให้มูกและน้ำคร่ำที่ทารกสูดหายใจเข้าไปตามธรรมชาติในขณะที่อยู่ในครรภ์มารดา ถูกขับไล่ออกมาจนหมดผู้ทำคลอดจึงควรรออยู่ประมาณ 30 วินาที เพื่อให้มูกและน้ำคร่ำถูกขับออกให้มากที่สุดหรือจนกระทั่งเมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูกและผู้คลอดเริ่มเบ่งอีกครั้งหนึ่ง
การทำคลอดไหล่
ทำคลอดไหล่หน้า.
เมื่อไหล่อยู่ในแนวตรงช่วยทำคลอดโดยใช้ 2 มือจับศีรษะบริเวณขมับของทารกให้อยู่ระหว่างฝ่ามือทั้งสองข้างให้มือซ้ายที่ไม่ถนัดอยู่ด้านบนกดศีรษะทารกลงล่างตามแนวทิศทางของช่องเชิงกรานส่วนบน เมื่อเห็นไหล่หน้าจนถึงบริเวณซอกรักแร้จึงหยุด.
การทำคลอดไหล่หลัง
จับศีรษะทารกให้บริเวณขมับทั้งสองข้างอยู่ระหว่างฝ่ามือทั้งสอง ดังเช่น การทำคลอดไหล่หน้าแล้วยกศีรษะทารกขึ้นไปทางหน้าห้อง ผู้คลอดประมาณ 45 องศากับ 1 แนวตั้งให้ไหล่หลังคลอดออกมา
การทำคลอดลำตัว
- ดึงตัวทารกออกมาช้าๆโดยใช้มือข้างที่ถนัดอยู่ข้างล่าง ช่วยพยุงรองรับให้ศีรษะอยู่ในอุ้งมือและคอทารกอยู่ระหว่างซอกนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ค่อยๆลดศีรษะทารกลง
- มือข้างที่ไม่ถนัดค่อยๆลูบตามหลังทารก ในขณะที่ลำตัวทารกค่อยๆเคลื่อนออกมาจนก้นและต้นขาทารกคลอดออกมาให้ใช้นิ้วชี้สอดเข้าไประหว่างขาทั้งสองข้างของทารกและค่อยๆเลื่อนไปจนถึงข้อเท้าของทารก ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วกลางกำรอบข้อเท้าทารกให้แน่น
- เมื่อทารกคลอดหมดทั้งตัวนำทารกวางบนผ้าที่จัดเตรียมไว้โดยระวังไม่ให้สายสะดื้อดึงรั้ง
- แจ้งเวลาทารกคลอดและเพศของทารก
- ดูดมูกจากปากทารกออกให้หมด
- ใช้ผ้าขนหนูที่อุ่นๆ เช็ดศีรษะและตัวทารกให้แห้งสะอาดทันที เพื่อช่วยรักษาอุณหภูมิร่างกายเมื่อคลอดกระตุ้นให้ร้อง
- ประเมินทารกแรกเกิด ดูสีผิว การร้องการเคลื่อนไหวของแขนขา การหายใจ
-
กลไกการลอกตัวของรก
- การลอกตัวแบบสมบูรณ์ (Schultze mrchannism)
การลอกตัวแบบนี้รกจะเริ่มลอกตัวตรงกลางรกก่อนทำให้เกิดก้อนเลือดขังหลังเนื้อรกหรือ retroplacenta hematoma ดันเอาส่วนกลางของรกให้ยื่นโป่งออกมา
- การลอกตัวแบบไม่สมบูรณ์ (Duncan mrchannism)
รกจะเริ่มลอกตัวตรงริมรกก่อนทำให้ไม่เกิด retroplacenta hematoma เพราะเลือดที่เกิดจากการลอกตัวของรกจะค่อยๆเซาะเนื้อรกและเยื่อหุ้มเด็กให้แยกจากเยื่อบุมดลูกแล้วไหลออกมาให้เห็นทางช่องคลอด
-
-