Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ระยะตั้งครรภ์
การวินิฉัยการตั้งครรภ์
การตรวจร่างกายและการตรวจภายใน
การเปลี่ยนแปลงที่เต้านม
บริเวณรอบเต้านม (areola) มีสีคล้ำขึ้น
montgomery tubercles นูนขึ้นอย่างชัดเจน
เต้านมจะใหญ่และตึงขึ้น
ถ้าครรภ์ 3 – 4 เดือน ขึ้นไปบีบหัวนม จะได้น้ำนมเหลือง
การเปลี่ยนแปลงที่อวัยวะเพศ
vulva และช่องคลอดจะมีสีคล้ำขึ้น (bluish discoloration) เรียกว่า Chadwick's sign
ปากมดลูกจะมีลักษณะนุ่มเหมือนริมฝีปาก เรียกว่า Goodel's sign
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยันการวินิจฉัย
การตรวจปัสสาวะ
ใช้ปัสสาวะตื่นนอนครั้งแรกเพื่อให้ปัสสาวะเข้มข้น
การตรวจเลือด
การซักประวัติ
การขาดระดุ
ประวัติระดูครั้งสุดท้าย
ประวัติดารใช้ยาคุมกำเนิด
ประวัติการมีเพศสัมพันธ์
อาการของการตั้งครรภ์
ปัสสาวะบ่อย
รุ้สึกเด็กดิ้น
ครรภ์แรกประมาณ 18-20 สัปดาห์
ครรภ์หลังประมาณ 16-18 สัปดาห์
อาการคลื่นไส้ หรือพะอืดพะอด อาเจียน
อาการและอาการแสดงของการตั้งครรภ์
สิ่งตรวจพบว่ามีการตั้งครรภ์ (Probable evidence)
3) มีการเปลี่ยนแปลงที่ปากมดลูกเรียก Goodell's sign
4) Ballottement
2) การเปลี่ยนแปลงของขนาดรูปร่างและความอ่อนแข็งของมดลูก เช่น มดลูกโตขึ้น คลำมดลูกหน้าท้องได้
5) คลำได้ขอบเขตของทารก
1) การทดสอบหาฮอร์โมนในปัสสาวะ
6) มี Braxton hicks contraction
สิ่งตรวจพบว่ามีการตั้งครรภ์อย่างแน่นอน (Positive evidence)
(2) ตรวจการเคลื่อนไหวของเด็ก
3) ตรวจลักษณะการตั้งครรภ์ โดยใช้เครื่องคลื่นเสียงความถี่สูง
1) ตรวจพบการเต้นของหัวใจทารก
4) ตรวจพบเงากระดูก ของเด็ก โดยการถ่ายภาพรังสี
อาการแสดงหรือสิ่งตรวจพบที่ส่อว่าอาจมีการตั้งครรภ์การตั้งครรภ์ (Presumptive evidence)
5) การรู้สึกเด็กดิ้น
6) ปัสสาวะบ่อย
4) สีของเยื่อบุช่องคลอดเปลี่ยนแปลงเรียก Chadwick's sign
7) เพิ่ม pigmentation ของผิวหนังและมี striae ที่หน้าท้อง
3) การเปลี่ยนแปลงของเต้านม
8) อ่อนเพลีย
2) อาการคลื่นไส้
1) การขาดระดู
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตสังคมของการตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ต้องการออกซิเจนมากขึ้น
ฮอร์โมนต่างๆเพิ่มขึ้น
ปริมาตรเลือดเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึมเพิ่มขึ้น
อวัยวะสืบพันธุ์ ปากมดลูกอ่อนนุ่ม มดลูกมีลักษณะเหมือนลูกแพร์ กล้าเนื้อมดลูกและโพรงมดลูกขยายใหญ่ขึ้นขยายใหญ่ขึ้น เต้านมขยายใหญ่ขึ้น
อาจติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูกง่าย
ทำให้เกิดอาการปวดหลัง
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคมของการตั้งครรภ์
ไตรมาสที่สอง
จะเริ่มยอมรับการตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้น
ความรู้สึกต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายจะไม่คงที่
ความรู้สึกทางเพิ่มขึ้น
ไตรมาสที่สาม
เริ่มกลัวและวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด
เกิดความไม่คล่องตัว มีความรุ้สึกทางด้านลบต่อภาพลักษณ์ตนเอง
ความรู้สึกทางเพศลดลง
ไตรมาสแรก
จะมีความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย
ความรู้สึกทางเพศลดลง
การประเมินภาวะจิตสังคมของสตรีตั้งครรภ์
ประวัติครอบครัว
ข้อมูล
สัมพันธภาพระหว่างบิดามารดา
ปัญหาทางสูติกรรมในญาติพี่น้อง
บิดามารดาเสียชีวิต, หย่า หรือแต่งงานใหม่
สัมพันธภาพกับบิดามารดา
อายุของบิดามารดา, ภาวะสุขภาพอายุของพี่น้อง และภาวะสุขภาพ
ภาวะเสี่ยง
การรับรู้บทบาทการเป็นบิดามารดา
ความหวาดกลัวต่อการมีภาวะแทรกซ้อน
มาจากครอบครัวแตกแยก
การอยู่คนเดียวสถานภาพของสตรีตั้งครรภ์
มีบุคคลในครอบครัวเจ็บป่วย, มีความกลัวภาวะติดต่อโรคทางพันธุกรรมจากบุคคลในครอบครัว
สถานภาพสมรส
ข้อมูล
อายุของสามี, สุขภาพ, อาชีพ
ทัศนคติของสามีที่มีต่อการตั้งครรภ์
ระยะเวลาที่สมรส
สาเหตุที่แยกกันอยู่กับสามี เช่น ต้องเดินทางไปต่างจังหวัดทหรือต่างประเทศ ถูกเกณฑ์ทหาร, เลิกกันกับสามี ฯลฯ
สมรส (คู่), โสด, แยก, หย่า, หม้าย
ภาวะเสี่ยง
อายุแตกต่างกันมากกับสามี, มีบุคคลเจ็บป่วยในครอบครัว, มีปัญหาทางเศรษฐกิจ
มีข้อขัดแย้งกับสามี
ตั้งครรภ์ก่อนสมรส
มีแนวโน้มที่จะขาดที่พึ่งพิงทางอารมณ์
อยู่คนเดียว, สามีเสียชีวิต
ครรภ์ปัจจุบัน
ตั้งครรภ์ยาก
วางแผนที่จะตั้งครรภ์ครั้งนี้หรือไม่
สถานภาพของสตรีตั้งครรภ์
ข้อมูล
ความรู้สึกที่มีต่อรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไปในระยะตั้งครรภ์
อาการอื่น ๆ ทางร่างกายสัมพันธภาพ
ภาวะการทำงาน
ภาวะเสี่ยง
รู้สึกกังวลต่อรูปร่างที่เปลี่ยนไป
อาการที่อาจมีความสัมพันธ์ระหว่างอาการทางกายและความรู้สึกของสตรีตั้งครรภ์กับทารก
ปัญหาทางการเงิน, การมีบุตรอาจเป็นอุปสรรคต่อการงาน