click to edit title
องค์ประกอบการคลอด
1.แรงพลักดัน
Brearing down effort
2.ช่องทางคลอด
click to edit
ลักษณะเชิงกราน
Android
3.Anthropoid
1.Gynecoid
4.platypelloid
พบในสตรีทั่วไป 50%
ค่อนข้างกลม
เชิงกรานผู้ชาย
ช่องเชิงกรานลึก
พบ 25%
คล้าย Gynecoid1 แต่ acrum สั้น
พบ 3-5%
ช่องคลอดอ่อน
กล้ามเนื้อเยื่อมดลูกส่วนล่าง/ปากมดลูก/ช่องคลอด/
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน/ฝีเย็บ
เชิงกราน 2 ส่วน
- เชิงกรานเทียม
- เชิงกรานแท้
click to edit
3.สิ่งที่คลอดออกมา
ทารก เยื่อมหุ้มทารก น้ำคร่ำ
กระโหลกศีรษะ
รอยต่อ
Parietal bone 2 ชิ้น
Temporal bone 2 ชิ้น
Frontal bone 2 ชิ้น
Sagital suture
Coronal suture
Frontal suture
Lambdoid suture
4.สภาพจิตใจ
- ท่าผู้คลอด
ท่ามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา การเปลี่นท่าบ่อยๆจะลดความเมื่อยล้า ทำให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น
เกิดความสบาย
เกิดความกังวลหรือกลัวการคลอด มีผลไปยั้บยั้ง
การหดรัดตัวของมดลูก ทำให้เลือดไปเลี้ยงทารกได้น้อย
ทารกขาดออกซิเจน
- สภาวะร่างกาย
น้ำหนักมากกว่า 80 kg เสี่ยงต่อการคลอดยาก
หากผู้คลอดสูงน้อยกว่า 145 cm
จะมีความสัมพันธ์กับภาวะเชิงกรานไม่ได้สัดส่วน
กับส่วนนำ
Uterine contraction
การคลอดปกติ
- ทารกมีศีรษะเป็นส่วนนำ
และขณะศีรษะคลอดท้ายทอยอยู่ด้านหน้าช่องเชิงกรานหรือใต้กระดูกหัวหน่าว
4.การคลอดเป็นไปตามธรรมชาติ
- อายุครรภ์ครบกำหนด 38-42 wks
- ระยะเวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จริง-คลอด ไม่เกิน 24 ชม
1.การคลอดทางช่องคลอด
โดยไม่มีอุปกรณ์ในการทำคลอด
- ไม่มีภาวะแทรกซ้อนเกิขขึ้นในระยะคลอด
click to edit