Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดปกติ - Coggle Diagram
การคลอดปกติ
องค์ประกอบการคลอด
สิ่งที่คลอดออกมา Passengers
เยื้อหุ้มเก็กและน้ำคร่ำ
รูปร่าง ขนาดและลักษณะของทารกต้องเหมาะสมกับช่องทางคลอด
รก
ทารก
ท่าของผู้คลอด Position of labour
ท่าในแนวตั้ง
ท่ายืน
ท่านั่งยองๆ
ท่ายกศีรษะและลำตัวสูง
ท่าเหล่านี้จะทำให้การหดรัดตัวของมดลูก การออกแรงเบ่ง การเคลื่อนของส่วนนำดี
ช่องทางคลอด Passage
กระดูกที่สามารภยืดขยายได้น้อยหรือไม่ได้เลย
ขนาดของเชิงกราน
ช่องเชิงกรานแทั มี 3 ส่วน
ช่องเชิงกราน Pelvic carvity or mid pelvis
ช่องเข้าเชิงกราน Pelvic inlet
ช่องออกเชิงกราน Pelvic oulet
ภาวะของร่างกาย Physical condition
ภาวะสุขภาพที่ส่งผลต่อการคลอด
โรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
การคลอดล่าช้า
อาการอ่อนเพลีย หมดแรง
ขาดน้ำ
ภาวะไม่สมดุลน้ำและอิเล็กโตรไลต์
แรงดัน Power
Primary power
การหดรัดตัวของมดลูก
แรงเบ่งของสตรีตั้งครรภ์Bearing down effort
แรงหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม
ภาวะจิตใจ Phychological condition
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ แรงเบ่งน้อย
ความกลัวการคลอดและกลัวตนเอง ทารก เป็นอันตราย
ความคาดหวัง
ความเครียด
สะภาพแวดล้อมทางสังคม
วิตกกังวล
ระดับการศึกษาและอาชีพ
การเจ็บครรภ์และการหดรัดตัวของมดลูก
Phase 0 "Pregnancy to parturition"
อยู่ในระยะสงบไม่มีการหดรัดตัวของมดลูกและปากมดลูก
ปาดมดลูกแข็ง รูปโคน
Phase I "Uterine preparedness for labour"
ระยะเตรียมพร้อมสำหรับการเจ็บครรภ์
ปากมดลูกสุก
มดลูกมีการหดรัดตัวเพิ่มมากขึ้น
ไวต่อสารกระตุ้นการหดรัดตัว
Phase II "Active labour"
ระยะหดรัดตัว
เกิดการของปากมดลูก เปิดจนหมด
Phase III "Uterine involution and restoredfertility"
ระยะกลับคืนสู่สภาพปกติ ของมดลูกก่อนการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ระยะของการคลอด Stage of labor
Satge 1
เริ่มเจ็บครรภ์จริงจนปากมดลูกเปิด 10 cm
มดลูกหดรัดตัวทุกๆ 10 นาที
มีมูกเลือด
ปากมดลูกเปิด
G2 4-12 hr.
G1 8-24 hr.
Satge 2
G1 1-2 hr.
G2 1/2- hr.
ปากมดลูกเปิดหมดจนถึงทารกคลอด
Satge 3
ทารกคลอดถึงรกคลอด
5-15 min ไม่เกิน 30 นาที
Satge 4
รกคลอดจนถึงมาดาปกติ
2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
เจ็บครรภ์จริง
เจ็บบริเวณหลังส่วนล่าง บั้นเอวร้าวไปหน้าท้องส่วนบนบริเวณยอดมดลูก
เจ็บรุนแรงและถี่ขึ้นเรื่อยๆ
มดลูกหดรัดตัวทุก 0-15 นาที สม่ำเสมอ
มีมูกเลือดออกจากช่องคลอด
ปากมดลูกนุ่ม เปิดขยายและบางลง
ไม่สามารถใช้เทคนิคผ่อนคลายได้
มีผลต่อการเคลื่อนต่ำของทารก
เจ็บครรภ์เตือน
เจ็บไม่รุนแรง
ไม่มีมูกเลือดออกจากช่องคลอด
เจ็บบริเวณหน้าท้องเท่านั้น
มดลูกหดตัวน้อย ระยะเวลาไม่สม่ำเสมอ
ไม่มีการเปิดขยายของปากมดลูก
อาการเจ็บหายไปเมื่อเดินหรือเปลี่ยนท่า
ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของทารก
บรรเทาอาการเจ็บด้วยเทคนิคผ่อนคลาย
ใกล้คลอด
การนุ่มของปากมดลูก (rippening of cervix)
หดสั้นและบางลง
เริ่มมีการเปิดขยาย
พบจากการตรวจภายใน
อาการปวดหลัง (persistent backache)
มดลูกส่วนล่างหดรัดตัวขึ้น
Sacroiliac joints มีการคลายตัว
ฮอร์โมน Relaxin หลั่งมาก ทำให้เอ็นยึดบริเซณเชิงกราน
มีสารคัดหลั่งจากช่องคลอด (mucous show)
มดลูกหดรัดตัว Braxtion Hick
ปกมดลูกนุ่มเปิดขยายเล็กน้อย
สารคัดหลั่งที่คอมดลูกจะหลุดออกมา เหนียวสีขาว (mucous plug)
ถุงน้ำทูนหัวแตก (spontaneous rupture of membranes)
ภายใน 8-12 ชั่วโมง หลังจากถุงน้ำแตกจะมีอาการเจ็บครรภ์เกิดขึ้น
หากไม่มีอาการเจ็บครรภ์ภายใน 24 ชั่วโมงต้องชักนำการคลอด
แตกปลายระยะที่ 1 หรือต้นระยะที่ 2 ของการคลอด
บางรายถุงน้ำแตกก่อนเจ็บครรภ์ซึ่งผิดปกติ
อาการท้องลด (lightening)
ส่วนนำทารกเคลื่อนเข้าช่องเชิงกราน
ครรภ์แรก 10-14 วันก่อนคลอด
ครรภ์หลัง อาจไม่พบอาการนี้จนกว่าจะเข้าสู่ระยะคลอด
อาการน้ำหนักลดลงและการเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร
ชนิดของการคลอด
คลอดปกติ
คลอดธรรมชาต ไม่ใช้เครื่องมือพิเศษ เช่น เครื่องดูดสูญญากาศ
ระยะเวลาเจ็บครรภ์จริงจนคลอดรวมกันไม่เกิน 24 ชั่วโมง
ยอดศีรษะเป็นส่วนนำ Vertex presentation
ไม่มีการตกเลือด รกค้าง มดลูกปลิ้น
อายุครรภ์ 38-42 w
คลอดผิดปกติ
ระยะเวลาเจ็บครรภ์จริงจนคลอดมากกว่า 24 ชั่วโมง
มีการตกเลือด รกค้าง มดลูกปลิ้น
การคลอดสิ้นสุดโดยการได้รับความช่วยเหลือ เช่น การผ่าตัดคลอด
ระยะตั้งครรภ์น้อยกว่า 38 w หรือมากกว่า 42 w
ความหมาย
กระบวนการที่เกิดขึ้นเพื่อขับทารก
รกเยื้อหุ้มรกและน้ำคร่ำที่อยู่ภายในมดลูก
ผ่านช่องคลอดออกสู่ภายนอก