Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือทางดาราศาสตร์ :star: - Coggle Diagram
เครื่องมือทางดาราศาสตร์
:star:
ประวัติการสร้างกล้องโทรทรรศน์ :<3:
Hans lippershey
พบคุณสมบัติของเลนส์นูนและเลนส์เว้า
เคปเลอร์
ปรับปรุงกล้องโทรทรรศน์ของกาลิเลโอ
แก้ให้สามารถมองดวงจันทร์ได้เต็มทั้งดวง
John Hadley
แก้ปัญหาความคลาดทรงกลมได้สำเร็จ
โดยวิธีการสะท้อนแสง
Sir William Herschel
สร้างกล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสงขนาดใหญ่ขึ้น
มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 48 นิ้ว
เป็นเลนส์นูนใช้แก้ว Crown และเป็นเลนส์เว้าใช้แก้ว Flint
ชนิดกล้องโทรทรรศน์ :<3:
กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง
ประกอบด้วย เลนส์วัตถุ และเลนส์ตา
มองเห็นภาพได้กว้าง
เลนส์ตาแบบ Ramsden
แบ่งออกเป็น 2 แบบ
เลนส์ตาเป็นเลนส์เว้าจะได้ภาพเสมือนหัวตั้ง
เลนส์ตาเป็นเลนส์นูนได้ภาพจริงหัวกลับ ขนาดขยาย
กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง
ใช้กระจกเว้าสะท้อนแสง เรียกว่า กระจกวัตถุ
กล้องโทรทรรศน์แบบ Gregorian
กล้องโทรทรรศน์แบบ Cassegrain
กล้องโทรทรรศน์แบบ Coude
กล้องโทรทรรศน์แบบ Schmidt
ซึ่งเป็นกล้องชนิดมุมกล้องกว้าง
ทำหน้าที่แก้ความคลาดทรงกลม
กำลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ :<3:
อัตราส่วนระหว่างขนาดของภาพกับขนาดของวัตถุ
เรียกว่า กำลังขยายของกล้อง
กำลังขยายของกล้อง คำนวณได้จากการนำความยาวโฟกัสของเลนส์หารด้วยความยาวโฟกัสของเลนส์ตา
กำลังขยายของกล้องแต่ละขนาดจะมีขีดจำกัด
ค่าของความสว่าง :<3:
ความสว่างคุณภาพ คือ ปริมาณพลังงานแสงที่ตกลงบน 1 หน่วยพื้นที่ของภาพต่อ 1 หน่วยเวลา
ความสว่างขึ้นอยู่กับขนาดของวัตถุ
B=F/d
B = ความสว่างของดาว
F = ความยาวโฟกัสของเลนส์
d = ขนาดของเลนส์
การติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ :<3:
แบบฐานตั้งอัลตาซิมัท
ง่ายสุด มีแกนหมุน 2 แกน
แกนหมุนได้360 องศา
ฐานตั้งอีเควตอเรียล
แบบเยอรมัน สะดวกต่อการใช้งาน
แกนหมุนเรียก แกนเดคลิเนชัน
ฐานตั้งอีเควตอเรียแบบอังกฤษ
มีแกนขั้นขวางเสา 2 เสา
มีช่องให้แสงดาวผ่าน
น.ส. ปุณยณุช ชุมเปีย 6120603158 เลขที่ 46