Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
การตรวจทางคลินิก(Clinical assessment)
1.การซักประวัติ
ประวัติส่วนตัว : อายุ
ประวัติครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการใช้ยาเเละเเพ้ยา
ประวัติการตั้งครรภ์เเละการคลอดในอดีต
2.ชั่งน้ำหนักมารดา จะเพิ่มขึ้น
3.วัดความสูงของมดลูก
จากการคลำระดับความสูงของยอดมดลูก
3/4+ > สะดือ = 38-40 สัปดาห์(กรณีท้องหลัง)
3/4- > สะดือ = 38-40 สัปดาห์(ท้องเเรกเนื่องจากท้องลด Head engagement = HE)
3/4 > สะดือ = 36 สัปดาห์
2/4+ > สะดือ = 32 สัปดาห์
2/4- > สะดือ = 28 สัปดาห์
1/4 > สะดือ = 24 สัปดาห์
ระดับสะดือ = 20 สัปดาห์
จากการวัดระดับความสูงของยอดมดลูกด้วยสายเทป
ใช้วิธี McDonald
อายุครรภ์(สัปดาห์) = ค.สูงของมดลูก(ซม.)x8/7
อายุครรภ์(เดือน) = ค.สูงของมดลูก(ซม.)x2/7
ผิดปกติ
ถ้าความสูงที่วัดได้ < ค่าคำนวณได้ 3 ซม. หรือ ความสูงที่วัดได้ > ค่าคำนวณได้ 3 ซม.
4.ตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจทารก(Fetal heart rate : FHR) = 110-160 bpm
5.การตรวจนับจำนวนทารกในครรภ์ดิ้น(fetal movement count : FMC)
1.วิธีการนับครบสิบ(count to ten)
จับจำนวนครั้งของการดิ้นหรือการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์อย่างต่อเนื่องจนครบ 10 ครั้ง ภายใน 4 ชั่วโมง
เริ่มนับเมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์
2.วิธีการซาดอฟสกี้(Sadovsky)
การนับการดิ้นของทารกในครรภ์วันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง หลังอาหารเช้า-กลางวัน-เย็น ผลรวมมีค่าเท่ากับ > หรือเท่ากับ 10 ครั้ง
เเปลผล สุขภาพทารกปกติ
การพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีเป็นมิตร
2.ประเมินอายุครรภ์/ซักประวัติความรู้สึกทารกดิ้นในครรภ์
3.อธิบายลักษณะการดิ้นของทารก : มีลักษณะกลิ้งตัว , การยืดหดของลำตัวเเละเเขนขา , สะอึก
4.เเนะนำวิธีการบันทึกการดิ้น
5.เปิดโอกาสให้ซักถาม
6.ถ้าทารกดิ้น < 10 ครั้ง/วัน ให้มาพบเเพทย์จะมีอันตรายก่อนที่จะเกิดภาวะขาดออกซิเจน(fetal distress) เรียกว่า
movement alarm signal(MAS)
โดยมีสัญญาณทารกดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งต่อ 12 ชั่วโมง เป็นเวลา 2 วัน ติดต่อกัน และถ้าหยุดดิ้นหรือหยุดเคลื่อนไหว ประมาณ 12 – 24 ชั่วโมง ทารกอาจเสียชีวิตในครรภ์
การประเมินชีวเคมี(biochemical measurement)
คัดกรองจากเลือดมารดาหาระดับแอลฟาฟีโตโปรตีน (maternal serum alpha - fetoprotein screening = MSAFP) ตรวจเมื่ออายุครรภ์ 15 สัปดาห์
ค่าปกติ AFP =2.5 MoM ( multiple of median)
ถ้า AFP > 2.5 MoM ทารกเสี่ยงมีท่อประสาทเปิด(neural tube defects)
ถ้า AFP < 2.5 MoM ทารกเสี่ยงเป็นกลุ่มอาการดาวน์(down syndrome)
2.การดูดเนื้อเยื่อรก(Chorionic Villus Sampling = CVS) เพื่อศึกษาโครโมโซม
1) วิธี transcervical chorionic villus sampling ทำเมื่ออายุครรภ์ 10-14 สัปดาห์
2) วิธี transabdominal chorionic villus sampling
3.เก็บตัวอย่างเลือดทารกในครรภ์(fetal blood sampling) วิธีที่ไม่นิยมทำ
การตรวจระดับ Estriol(E3) ในเลือดและปัสสาวะจากมารดา
5.การตรวจ Human placenta lactogen
6.การเจาะน้ำคร่ำ
ตรวจโครโมโซม เพื่อประเมิน Down syndrome
ทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์
การพยาบาล
หลังเจาะน้ำคร่ำ
ให้นอนพักประมาณ 15 - 30 นาทีหลังการเจาะน้ าคร่ า
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น อาการปวดท้อง หรืออาการเลือดออก
ถ้าตรวจหาโครโมโซมที่มีความเสี่ยงเป็น Down syndrome จะนัดฟังผล 4 สัปดาห์
ก่อนเจาะน้ำคร่ำ
อธิบายเหตุผล / ขั้นตอนการเจาะน้ำคร่ำ
ประเมินอายุครรภ์ก่อนทำการเจาะน้ำคร่ำ
อธิบายการดูแลตนเองขณะทำและหลังทำ
เปิดโอกาสให้ซักถาม
เตรียมเครื่องมือเจาะน้ำคร่ำ
ให้ปัสสาวะก่อนทำ
ให้กำลังใจอยู่ข้างเตียงขณะทำ
วิธีการตรวจทางฟิสิกส์(Biophysical assessment)
1.Baseline Fetal heart sound
Baseline rate : ค่าเฉลี่ยของอัตราการเต้นของหัวใจ
ทารกปกติ 110-160 ครั้ง/นาที ในระยะเวลา 10 นาที
Tachycardia
: FHR > 160 bpm. ในระยะเวลา 10 นาที
Bradycardia
: FHR <110 bpm. ในระยะเวลา 10 นาที
2.Variability
คือ อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลง (fluctuate) ที่ไม่สม่่ำเสมอ ทั้งamplitude และ ความถี่ (frequency) ระหว่าง beat to beat
Absent
: ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงของ amplitude
Minimal
:มีการเปลี่ยนแปลง 0 ถึง 5 beat / min
Moderate
: มีการเปลี่ยนแปลง 6 ถึง 25 beat/min
Marked :
มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 25 beat/min
3.Acceleration
: การเพิ่มขึ้นของ FHR
< หรือเท่ากับ 32 wks. FHR สูงจาก baseline> 10 bpm. ระยะเวลา10 วินาที
≥ 32 wks. FHR สูงจาก baseline > 15 bpm. ระยะเวลา15 วินาที
4.Deceleration :
การลดลงของ FHR
วิธีการตรวจ
1.ระยะตั้งครรภ์(Antepartum)
1.Non stress test : NST
เป็นการตรวจดูอัตราการเต้นของหัวใจทารกเมื่อทารกมีการเคลื่อนไหว
ข้อบ่งชี้การทำ NST
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
ตั้งครรภ์เกินกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มีภาวะแทรกซ้อนร่วมกับการตั้งครรภ์ : เบาหวาน ร่วมกับการตั้งครรภ์ ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจางร่วมกับการตั้งครรภ์ โรคหัวใจ ร่วมกับการตั้งครรภ์
มีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ตั้งครรภ์แฝด
มีภาวะ Rh isoimmunization
อายุมากกว่า 35 ปี
มีประวัติทารกตายในครรภ์
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพ
อธิบายเหตุผลและขั้นตอนของการทำ NST
แนะนำให้ถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ
จัดให้สตรีตั้งครรภ์นอนท่าศีรษะสูง 30 องศา
ตรวจครรภ์หาตำแหน่งหลังส่วนสะบักด้วยวิธี Leopold Maneuver คาดสายรัดหน้าท้อง โดยให้หัว ultrasonic transducer วางบนตำแหน่งที่ฟังการเต้นของหัวใจทารกได้ชัดเจน
แนะนำให้กดปุ่ม fetal movement marker เมื่อรู้สึกว่าทารกดิ้น/เคลื่อนไหว
กรณีที่ต้องการประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ให้คาดหน้าท้องบริเวณยอดมดลูกด้วย toco transducer เพื่อบันทึกระยะเวลา (duration) ความถี่ห่าง (interval) และความรุนแรง (severity)
เปิดเครื่องบันทึกการเต้นของหัวใจทารกลงบนกราฟนาน 20 นาที
กรณีที่ทารกในครรภ์ไม่ดิ้น อาจเนื่องจากทารกหลับให้กระตุ้นทารกทางหน้าท้องด้วย fetal acoustic stimulator
เเปลผล
Reactive ปกติ
Preg. ≥ 32 สัปดาห์ จะมี FHR เพิ่มขึ้น (acceleration) > 15 ครั้ง/นาที นาน 15 วินาที เมื่อทารกมีการเคลื่อนไหว โดยมีอย่างน้อย 2 ครั้งภายใน 20 นาที และอยู่ใน baseline ระหว่าง 110 - 160 ครั้ง/นาที
Non reactive ผิดปกติ
ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของ FHS เมื่อทารกมีการเคลื่อนไหวตามเกณฑ์reactive NST ภายในระยะเวลา 40 นาที และมี baseline variability ลดลงหรือหายไป
Suspicious ทารกอาจผิดปกติ
มีการเพิ่มของ FHS < 2 ครั้ง หรืออัตราเพิ่มขึ้น < 15 ครั้ง/นาที และอยู่สั้นกว่า 15 วินาที เมื่อทารกมีการเคลื่อนไหว ซึ่งจะทดสอบซ้ำภายใน 24-48 ชั่วโมง
Uninterpretable อ่านผลไม่ได้
อ่านผลไม่ได้ ท าการทดสอบซ้ าภายใน 24 ชั่วโมง หรือตรวจด้วยวิธีอื่น
2.Contraction stress test : CST
เป็นการตรวจดูการเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจทารกเมื่อมดลูกหดรัดตัว
ข้อห้ามในการตรวจวิธีนี้
สตรีตั้งครรภ์ที่มีประวัติผ่าตัดการคลอดมาก่อน
มีประวัติเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
มีครรภ์แฝด
มีมดลูกรูปร่างผิดปกติ หรือมีรกเกาะต่ำหรือมีถุงน้ำคร่ำ
แตกก่อนกำหนด
การพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับสตรีตั้งครรภ์
อธิบายเหตุผลของการตรวจสอบสุขภาพทารกด้วยวิธี CST
จัดให้สตรีตั้งครรภ์นอนท่าsemi - fowler positionเพื่อป้องกัน supine hypotensive syndrome
เตรียมให้ oxytocin 5 ยูนิต ในน้ำเกลือ 500 มล. ให้ในอัตรา 5 -10 หยด/นาที จนกระทั่งมดลูกหดรัดตัว 3 ครั้งใน10 นาที นานครั้งละ 40 – 60 วินาที
ประเมินFHR เมื่อมดลูกมีการหดรัดตัวและรายงานผลการตรวจให้แพทย์ทราบ
ภายหลังจากการตรวจติดตามการหดรัดตัวของมดลูกทุก 10 นาที เพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
(fetal biophysical profile : BPP)
เป็นการตรวจดูจาก ultrasound
1) การหายใจของทารก (fetal breathing movement = FBM)
2) การเคลื่อนไหวของทารกทั้งร่างกาย (gross body movement = FM)
3)กำลังกล้ามเนื้อของทารก ( fetal tone = FT)
4)การที่หัวใจทารกตอบสนองเมื่อทารกเคลื่อนไหว (reactive fetal heart sound = FHS)
5) ปริมาณน้ำคร่ำ(amniotic fluid volume)
2.ระยะคลอด
1)External fetal monitoring(EFM)
Early Deceleration : FHR ค่อยๆลดลงเเละกลับเข้าสู่ ฺBaseline ปกติ สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
1.อธิบายให้ทราบว่าเป็นภาวะปกติ
2.แนะนำให้นอนตะแคงซ้ายหรือนอนศรีษะสูง
3.สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก ระดับ FHR
4.ดูแลเตรียมคลอดตามปกติ
สาเหตุ : ศีรษะของทารกถูกกด ส่วนใหญ่จะเกิดในช่วงที่มีการเปิดของปามดลุูก 4-7 ซม.
Late Deceleration : FHR ค่อยๆลดลงเเละกลับเข้าสู่ Baseline ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
Prolong deceleration : มีการลดลงของ FHS ต่ำกว่า baseline อย่างน้อย 15 bpm เเละเป็นเวลาอย่างน้อย 2 นาที เเต่ไม่ถึง 10 นาที นับตั้งเเต่เริ่มต่ำลงจนถึงกลับเข้าสู่ rate ปกติ
การพยาบาล
1.ให้สตรีตั้งครรภ์นอนตะแคงซ้าย เพื่อลดการกดทับ inferior vena cava
หยุดให้ oxytocin ที่ใช้ในการเร่งคลอด
ให้ O2 mask 5 L/m
ประเมิน BP และภาวะขาดน้ำ
รายงานแพทย์ ถ้า late deceleration ยังคงอยู่เพื่อเตรียมคลอด
เตรียมให้สารน้ำ
Variable deceleration : มีการลดลงของ FHR ต่ำกว่า baseline มากกว่า 15 bpm
2)Internal fetal monitoring เสี่ยงเกิดการติดเชื้อ ปกติจะไม่ทำ