Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Computer System - Coggle Diagram
Computer System
-
สมาชิกกลุ่ม
- นายเอกรินทร์ อินทร์ดำ 4/11 เลขที่ 16
- น.ส.ตมิสา อุไรรัตน์ 4/11 เลขที่ 17
- น.ส.ติชิลา อุไรรัตน์ 4/11 เลขที่ 18
- น.ส.พรปวีณ์ ไชยธวัช 4/11 เลขที่ 19
- น.ส.สิริลักษณ์ เหมยากร 4/11 เลขที่ 20
2.1 Hardware
อุปกรณ์หรือชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ที่มีวงจรไฟฟ้าภายในและจับต้องได้(รูปธรรม)ซึ่งแบ่งกรทำงานตามลักษณะได้ 4 หน่วย
-
-
หน่วยแสดงผล (output)
มีหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูล ที่ผ่านการประมวลผลในรูปของ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวหรือ เสียง เป็นต้น
-
-
2.2 Software
โปรแกรมหรือชุดคำสั่งในการใช้งาน/ควบคุมฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์และไม่สามารถสัมผัสได้โดยตรง เนื่องจากซอฟต์แวร์ถูกเก็บไว้ในสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
คือ Softwareที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก จะทำงานร่วมกับซอฟต์แวร์ประยุกต์หรือระบบปฎิบัติการ
1. ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะการจัดการระบบของดิสก์
เช่น Windows XP , DOS , Linux
2. ตัวแปลภาษา (Translator)เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง ซึ่ง เป็นภาษาใกล้เคียงภาษามนุษย์ ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนที่จะนำไปประมวลผล ตัวแปลภาษาแบ่งออกเป็น2ประเภทคือ
คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter)
ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมมี 2 แบบได้แก่ ภาษาแบบโครงสร้าง และภาษาแบบเชิงวัตถุ
3. ยูติลิตี้ โปรแกรม (Utility Program) คือ ซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เครื่องทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เช่นโปรแกรมป้องกันไวรัส,โปรแกรม Defrag,โปรแกรม Uninstall Program
4. ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการติดตั้งระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อและใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นำมาติดตั้งระบบ เช่นโปรแกรม Norton, Winzip, Scan virus
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ
1. ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) คือ โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ หรือเรียกว่า User’s Programซึ่งแต่ละโปรแกรมก็จะมีเงื่อนไข หรือแพลทฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นโดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา
เช่นโปรแกรมฝากถอนเงินของธนาคาร ,โปรแกรมคำนวนภาษีของกรมศุลกากร
2.ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป (General Purpose Software) หรือจะเรีกว่า
Package Program คือ โปรแกรมสำเร็จรูปซึ่งเป็นโปรแกรมที่ถูกสร้างหรือเขียนขึ้นมาโดยบริษัทต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้วพร้อมที่จะนำไปใช้งานต่าง ๆ ได้ทันที
เช่นMicrosoft Office,Adobe Indesign,Paradox
2.3 Peopleware
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์ ดังนั้น Peopleware จึงเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะบุคลากรจะเป็นผู้ดำเนินการระบบคอมพิวเตอร์เอง
Systems Analyst and Designer : SA
เป็นผู้ที่มีหน้าที่พิจารณาว่าองค์กรควรจะใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุดและได้คุณภาพงานดี เป็นผู้ออกแบบโปรมแกรมก่อนส่งงานไปให้โปรมแกรมเมอร์ทำงานในส่วนต่อไป
Programmer
คือคนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้และควรจะมีความชำนาญ นักเขียนโปรแกรมที่ดีจะต้องรู้วิธีแก้ปัญหาและต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อที่จะปฏิบัติตามคำสั่งได้
User
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป สามารถทำงานตามหน้าที่ในหน่วยงานนั้นๆ เช่น การพิมพ์งาน การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
Operator
คือผู้ควบคุมกระบวนการผลิต,ควบคุมเครื่องจักร
Database Administrator : DBA
เป็นผู้ดูแลทั้งฐานข้อมูลและระบบจัดการฐานข้อมูล มีหน้าที่รับผิดชอบด้านความปลอดภัยของข้อมูล ประสานงานและตรวจสอบการใช้งาน รวมทั้งจัดหาและดูแลรักษาอุปกรณ์ทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
System Manager
เป็นผู้มีหน้าที่บริหารทรัพยากรทุกชนิดที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร
2.4Data / Information
data คือข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆที่เป็นตัวเลข ข้อความ ภาพ เสียง วีดิโอ ของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ที่เราสนใจ ฯลฯ
ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
-ข้อมูลปฐมภูมิ
-ข้อมูลทุติยภูมิ
คุณสมบัติของข้อมูล
-ความถูกต้อง
-ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน
-ความสมบูรณ์
-ความชัดเจนและกระทัดรัด
-ความสอดคล้อง
Information คือ ข้อมูลหรือสิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์
การดำเนินการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ มีด้วยกัน 4 ลักษณะ คือ
- การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล
- การจัดเรียงข้อมูล
- การสรุปผล
- การคำนวณ
ตัวอย่าง
-ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทำงาน ซึ่งอาจนำมาจำแนกเป็นรายงานต่างๆ
-ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง
-ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนนักเรียนทั้งหมดของโรงเรียน
2.5 Procedure
เป็นกระบวนการทำงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์เเละผู้ใช้จะต้องเข้าใจขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้งานที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างขั้นตอนการทำงาน เช่น การถอนเงินด้วย
เครื่องฝาก - ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM)
- จอภาพแสดงความพร้อมเพื่อการทำงาน
- สอดบัตรและป้อนรหัสผู้ใช้
- เลือกรายการทำงาน
4.ใส่จำนวนเงิน
5.รับเงิน
6.รับบัตรคืนและใบบันทึกรายการ
การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อนและเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาดังนั้นในการปฏิบัติงานจึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่นคู่มือสำหรับผู้ควบคุมเครื่อง,คู่มือสำหรับผู้ใช้
- องค์ประกอบของระบบอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ -ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
-ซอฟต์แวร์ (Sofeware)
-บุคลากร (Peopleware)
-ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information)
-กระบวนการทำงาน (Procedure)