Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปเนื้อหาวิชามารดาทารก-ผดุง1 - Coggle Diagram
สรุปเนื้อหาวิชามารดาทารก-ผดุง1
ระยะตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
Positive sign
ตรวจพบการเต้นของหัวใจทารก
ตรวจพบการเคลื่นไหวของทารกโดยแพทย์
ตรวจพบผดดยภาพถ่ายรังสี หรือคลื่นเสียงความถี่สูง
Probable sign
Abdominal enlargement
ท้องขยายใหญ่ขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของรูปร่าง ขนาด
และความนุ่มของมดลูก
Piskacek’s sign
Hager’s sign
Ladin’s sign
McDonald’s sign
Goodell’s sign
Von Ferwald’s
Braxton Hicks contraction
ปากมดลูนุ่มขึ้นเหมือนริมฝีปาก
Ballottement
Outlining คลำได้ขอบเขตของทารก
ทดสอบฮอร์โมนให้ผลบวก
Presumptive sign
การขาดประจำเดือน
การเปลี่ยนแปลงของเต้านมคล้ำ ใหญ่ คัดตึงขึ้น
เนื้อเยื่อบุช่องคลอดและปากมดลูกคล้ำขึ้น
ผิวหนังมีเม็ดสีเพิ่มขึ้น
รู้สึกว่าเด็กดิ้น
อ่อนเพลีย
ปัสสาวะบ่อย
อาการแพ้ท้อง
การฝากครรภ์
อายุครรภ์ 28-36 สัปดาห์
นัดตรวจทุก 2 เดือน
ตั้งแต่ทราบว่าตั้งครรภ์-28 สัปดาห์
นัดตรวจทุก 4 เดือน
หลังอายุครรภ์ 36 สัปดาห์
นัดตรวจทุกสัปดาห์
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การขาดระดู
อาการของการตั้งครรภ์
คลื่นไส้ อาเจียน
อ่อนเและเหนื่อยง่าย
ปัสสาวะบ่อย
เต้านมตึงและกดเจ็บ
การตรวจร่างกายและการตรวจภายใน
การเปลี่ยนแปลงเต้านม
เต้านมใหญ่และตึงขึ้น
บริเวณรอบเต้านมมีสีคล้ำขึ้น นูนขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่อวัยวะเพศ
Chadwick’s sign
Goodell’s sign
Hegar’s sign
Ballottement
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด
ตรวจได้ตั้งแต่ 7-9 วันหลังจากมีการปฏิสนธิ
ตรวจปัสสาวะ
ตรวจได้ตั้งแต่ 4-7 วันหลังขาดประจำเดือน
การคาดคะเนกำหนดวันคลอด
ด้วย Naegele’s rule
นับจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้ายไป 9 เดือน แล้วบวกด้วย 7 วัน
นับย้อนหลัง 3 เดือน แล้วบวกด้วย 7 วัน
การตรวจครรภ์
การคลำ Palpation
การฟัง Auscultation
ต่ำแหน่งการฟังเสียงหัวใจเด็ก (FHS)
ฟังเมื่ออายุครรภ์ 17 สัปดาห์เป็นต้นไป
ฟังได้ชัดที่บริเวผรสะบักข้างซ้าย
เสียงหัวใจเปลี่ยนแปลงไปตามส่วนนำ
การดู Inspection
ดูขนาดของท้องว่าใหญ่หรือไม่
ลักษของท้อง
มดลูกโตตามยาวหรือขวาง
เด็กเคลื่อนไหวอย่างไร
บริเวเหนือหัวหน่าวเป็นอย่างไร
การดูแลทารกแรกเกิด
Apgar score
คะแนน 8-10 คะแนน แสดงว่าสภาพของทารกปกติดีไม่มีภาวะขาดออกซิเจนทารกหายใจได้เองหัวใจเต้นเป็นปกติตอบสนองต่อการกระตุ้นและผิวสีชมพู แต่ปลายมือปลายเท้าเขียว
การพยาบาล
ดูดสารคัดหลั่งในปากด้วยลูกสูบยางแดงเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
เช็ดน้ำคร่ำตามตัวให้แห้งแล้วห่อด้วยผ้าให้อบอุ่น
คะแนน 5-7 ทารกกลุ่มนี้มีอาการขาดออกซิเจนเล็กน้อยส่วนใหญ่การเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้ง / นาทีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นดีมีการหายใจตื้นหรือไม่สม่ำเสมออาจมีหน้าเขียวตัวนิ่มดูปวกเปียก
การพยาบาล
ดูดสารคัดหลั่งในปากและจมูกด้วยสายยาง
อาจให้ออกซิเจนทางหน้ากากในอัตรา 4 ลิตร / นาที
กระตุ้นการหายใจโดยใช้นิ้วมือขีดฝ่าเท้าหรือตบกันเบาๆ
คะแนน 3-4 ทารกกลุ่มนี้มีการขาดออกซิเจนในระดับปานกลางและมีความเป็นกรดมากกว่าทารกมีตัวเขียวคล้ำทั้งตัวความสามารถในการหายใจอ่อนมากตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นน้อยกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกไม่มีความตึงตัวอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง / นาที
การพยาบาล
รีบดูดมูกขี้เทาทางปากและจมูกด้วยสายยางเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
ให้ออกซิเจนทางหน้ากาก 4 ลิตร / นาที
ให้รายงานแพทย์เพื่อให้การช่วยฟื้นคืนชีพ
คะแนน 0-2 ทารกกลุ่มนี้ขาดออกซิเจนอย่างมากมีความเป็นกรดสูงทารกมีลักษณะเขียวคล้ำอย่างมากไม่มีความสามารถในการหายใจหรือมีเพียงการหายใจเฮือก (gasping) ไม่มีความตึงตัวของกล้ามเนื้อตัวอ่อนปวกเปียกไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นหัวใจเต้นช้ามากหรือไม่เต้น
การพยาบาล
ต้องได้รับการช่วยเหลือทันทีที่คลอดเสร็จให้รายงานแพทย์เพื่อให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างเร่งด่วน
การตรวจร่างกาย
1) อัตราการเต้นของหัวใจ
จะเปลี่ยนแปลงระหว่าง 100-180 ครั้ง/นาที ตามความแข็งแรงและการเคลื่อนไหวของทารก
2) อัตราการหายใจ
มักค่อนข้างไม่สม่ำเสมอและมีอัตราประมาณ 40-60 ครั้ง/นาที
3) น้ำหนัก
ทารกแรกเกิดจะมีน้ำหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 3,200 กรัม
4) การวัดความยาวของลำตัว
โดยจัดทารกนอนตะแคงและใช้สายวัด วัดจากบริเวณที่สูงที่สุดจากศีรษะค่อยๆไล่สายวัดไปตามลำตัวของทารกจนถึงบริเวณส้นเท้าแล้วอ่านค่าตัวเลขที่อยู่บริเวณส้นเท้าของทารก ความยาวเฉลี่ย 50 เซนติเมตร
5) การวัดความยาวเส้นรอบศีรษะทารก
ให้ใช้สายวัดพาดผ่านบริเวณ occiput มายังกระดูก fronttalให้สายวัดอยู่เหนือคิ้ว ประมาณ 1 เซนติเมตร แล้วอ่านค่าตัวเลขที่บรรจบกันตรงเลข 0 ขนาดรอบศีรษะ 33-35 เซนติเมตร
6) การวัดความยาวเส้นรอบอก
โดยใช้สายวัดสอดใต้ลำตัวทารกและพาดผ่านหัวนมทั้ง 2 ข้าง หรือ ผ่าน nipple line และอ่านค่าบรรจบกันที่เลข 0 ขนาดรอบทรวงอก 31-33 เซนติเมตร
7) อุณหภูมิร่างกาย
อยู่ระหว่าง 36.8-37.2 องศาเซลเซียส ในทารกที่น้ำหนักตัวต่างๆก็ต้องการความร้อนแตกต่างกันไป
8) ตัวลายปลายมือปลายเท้าเย็น
เกิดจากระบบหมุนเวียนของเลือดในร่างกายทารก โดยร่างกายจะส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆที่สำคัญๆในอุณหภูมิที่เหมาะสมเป็นหลักก่อน จึงทำให้อวัยวะอย่างมือและเท้ามีโอกาสรับเลือดช้ากว่าอวัยวะส่วนอื่นๆ ซึ่งทารกแรกเกิดจะมีลักษณะ หัวโต หน้ากลม คอสั้น
การพยาบาลทารกแรกเกิด
ดูแลเกี่ยวกับการหายใจ
Clear air way
ให้ออกซิเจน ถ้าดูดเสมหะแล้วทารกยังเขียว หายใจลำบากมากขึ้น หรืออัตราการเต้นของหัวใจลดลง
จัดให้จัดให้อยู่ในท่าที่หายใจสะดวก โดยศรีษะต่ำกว่าลำตัวเล็กน้อยศรีษะด้านหนึ่งเพื่อให้ Mucous และได้สะดวกและป้องกันการสำลักเข้าไปในปอด
ควบคุมระดับอุณหภูมิในร่างกายให้อยู่คงที่
กลไกการสูญเสียความร้อน
การแผ่รังสี (radiation heat loss
การเสียความร้อนไปให้วัตถุเย็นโดยทารกไม่สัมผัสวัตถุ
การนำ (conductive heat loss)
การเสียความร้อนไปโดยทารกสัมผัสกับวัตถุหรือที่พื้นผิวเย็น
การพา (convective heat loss)
การเสียความร้อนไปทางอากาศที่อยู่รอบตัว
การระเหย (evaporative heat loss)
การเสียความร้อนทางผิวหนังไปให้ผ้าเปียกหรือระยะแรกเกิดที่มีน้ำคร่ำเปียกตัวอยู่
ป้องกันการติดเชื้อ
หยอด AgNO3 1% หรือป้าย erythromysin หรอ terramysinเพื่อป้องกันการติดเชื้อโกโนเรีย
การให้อาหาร อาหารที่ดีและเหมาะสมที่สุดคือนมมารดา
การป้องกันภาวะเลือดออก
การส่งเสริมความผูกพันธ์ระหว่างมารดาบิดาและทารก
การส่งเสริมความปลอดภัย
ระบุตัวทารกให้ตรงกับมารดาบิดา
การประเมินสุขทารกในครรภ์
การคตรวจทางชีวเคมี
Biochemical
การดูดเนื้อเยื่อรกมาตรวจ
การตรวจ Humen placenta lactogen
คัดกรองจากเลือดมารดาหาระดับแอลฟ่าฟีโตโปรตีน
การเจาะน้ำคล่ำ Ammiocentesis
ทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์
ตรวจประเมินความเสี่ยงการเกิดภาวะ RDS
ตรวจโครโมโซม เพื่อประเมิน Down syndrome
เจาะตอนต้นไตรมาส 2 สามารถบอกเพศได้
เก็บตัวอย่างเลือดทารกในครรภ์
ตรวจหาโรคทางพันธุกรรม
ธารัสซีเมีย
ฮีโมฟิเลีย
ตรวจภาวะบวมน้ำ
การตรวจทางชีวฟิสิกส์
Biophysical
Baseline fetal heart sound
Variability คือ อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลงที่ไม่สม่ำเสมอ
Acceleration : การเพิ่มขึ้นของ fetal heart sound
Baseline rate : ค่าเฉลี่ยการเต้นของหัวใจทารกปกติ 110-160 ครั้ง/นาที ในระยะเวลา 10 นาที
Deceleration : การลดลงของ fetal heart sound
วิธีการตรวจมีดังนี้
ระยะคลอด
External fetal monitoring : EFM
Internal fetal monitoring
ระยะตั้งครรภ์
Fetal biophysical profile : FPP
Ultrasound : U/S
Non stress test : NST
Contraction stress test : CST
การตรวจทางคลินิค
clinical
การวัดอัตราการเต้นของหัวใจทารก
การวัดความสูงของยอดมดลูก
การคลำระดับยอดมดลูก
วัดยอดมดลูกโดยใช้เทปวัด
การนับจำนวนทารกในครรภ์ดิ้น
การชั่งน้ำหนักมารดา
การซักประวัติ
การเจ็บป่วยในอดีต
การใช้ยาและการแพ้ยา
ประวัส่วนตัว
การตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
Fetal movement
การคลอดปกติ
คือ ?
การะบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเพื่อขับทารก
รก เยื่อหุ้มทารก แบะน้ำคล่ำที่อยู่ภายในโพรงมดลูก
ผ่านช่องคลอดออกสู่ภายนอก
ประกอบด้วยลักษณะต่างๆ ดังนี้
อายุครรภ์ตั้งแต่ 38 สัปดาห์ - 42 สัปดาห์
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆ
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มเจ็บครรภ์จริงจนกระทั่งคลอด รวมกันไมาเกิน 24 ชั่วโมง
การคลอดทั้งหมดเป็นไปตามธรรมชาติไม่ใช่เครื่องมือ หรืวิธีการพิเศษใดๆ
มียอดศีรษะเปผ้นส่วนนำ
อาการและอาการแสดงเมื่อใกล้คลอด
เจ็บครรภ์เตือน
ปากมดลูกนุ่ม
น้ำหนักลด และการเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร
มีอาการปวดหลัง
การทำกิจกรรมเพิ่มขึ้น
Mucous show
เป็นเมือกเหนียวๆ สีขาว
ถุงน้ำคล่ำแตก
อาการท้องลด
Lightening
องค์ประกอบของการคลอด
สิ่งที่คลอดออกมา Passenger
ทารก
รก
เยื่อหุ้มเด็ก
น้ำคล่ำ
ท่าของผู้คลอด Position of labour
ท่าในแนวตรง
ท่ายืน
ท่านั่งยองๆ
ท่าในแนวราบ
ท่านอนหงายราบ
ท่านอนหงายชันเข่า
ท่านอนตะแคง
ช่องคลอด Passage
ส่วนที่เป็นกระดูก
Pelvic inlet
Pelvic cavity or mid pelvic
Pelvic outlet
ส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อ
ปากมดลูก
ช่องคลอด
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
ฝีเย็บ
มดลูกส่วนล่าง
ภาวะร่างกาย Physical condition
อ่อนเพลีย หมดแรง ขาดน้ำ จะมีแรงเบ่งน้อย ทำให้การคลอดล่าช้า
ผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ เช่น โรคหัวใจ, ความดันโลหิตสูง ส่งผลทางอ้อมต่อการคลอด
แรงผลักดัน Power
Primary power คือ การหดรัดตัวของมดลูก
Secondary power คือ แรงเบ่งคลอด
ภาวะจิตใจ Psychological condition
ผู้ที่มีความวิตกกังวล ความเครียด ความกลัวต่างๆ จะทำให้มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ มีแรงเบ่งน้อย เป็นสาเหตุการคลอดยาวนาน
การพยาบาลหลังคลอด
การประเมินสุขภาพของมารดาในระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
สังเกตฝีเย็บ น้ำคาวปลา และอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
เพื่อตรวจหาการบวมเลือด หรอเลือดออกจากแผลที่ฉีกขาด
หลักการดูแลคือ?
ต้องให้บริเวณนี้สะอาด แห้ง กำจัดกลิ่น ส่งเสริมการหายของแผล และช่วยให้มารดาสุขสบาย
คลำเต้านมตรวจดูความร้อน อาการบวม คัดตึงและการบวมของท่อ และตรวจดูหัวนมว่าแยก แตก เจ็บ ดูว่าหัวนมบุ๋มหรือไม่
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินหน้าที่ของระบบทางเดินปัสสาวะ
ตวงปัสสาวะในระยะแรกหลังคลอด
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
การพยาบาลในระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ส่งเสริมความสุขสบายและบรรเทาอาการเจ็บปวด
ส่งเสริมการลุกจากเตียงเร็ว
ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ส่งเสริมภาวะโภชนาการและการขับถ่าย
ส่งเสริมการบริหารร่างกาย
ส่งเสริมความสำเร็จในการให้นมบุตร
ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของมารดาและส่งเสริมสัมพันธภาพ
การปรับตัวของมารดาในระยะหลังคลอด
Taking-in phase
ระยะนี้จะเกิดขึ้น 1-2 วันแรกหลังคลอด
มารดาจะมุ่งที่ตนเองและต้องการพึ่งพาผู้อื่น
Taking-hold phase
ระยะนี้เกิดขึ้นในช่วง 3-10 วัน หลังคลอด
มารดามีประสบการณ์มากขึ้น มีการปรับตัวกับชีวิตใหม่
สนใจตัวเองน้อยลงและสนใจทารกมากขึ้น มารดาพึงพาตนเองมากขึ้น
Letting-go phase
เกินประมาณ 2 สัปดาห์หลังคลอด มารดาต้องปรับตัว 2 ประการ ดังนี้
ตระหนักและยอมรับความจริงว่าได้แยกจากทารกทางด้านร่างกาย
ต้องทิ้งบทบาทเดิมที่เป็นอิสระไม่มีบุตรต้องคอยห่วง
การดูแลส่งเสริมสุขภาพมารดาในระระ
หลัง24 ชั่วโมงหลังคลอด และคำแนะนำก่อนกลับบ้าน
ควรบริหารร่างกายสม่ำเสมอ
การให้บุตรดูดนมมารดาและการทำงาน
รับประทานอาหารที่มีคุณค่า มีประโยชน์ตามความต้องการของร่างกาย
เนื้อสัตว์ต่างๆ ไข่ นมสด ผักทุกชนิด ผลไม้ ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ให้งดร่วมเพศจนกว่าจะได้ตรวจหลังคลอด 6 สัปดาห์ไปแล้ว
อาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาล
น้ำคาวปลาเป็นสีแดงตลอดไม่จางลง
มีเลือดสดๆ ออกทางช่องคลอดมาก
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็นจำนวนมากขึ้น
เต้านมอักเสบ มีการกดเจ็บ แดง
มีไข้ เจ็บน่อง กดเจ็บ แดง
ถ่ายปัสสาวะบ่อย แสบ
หลังคลอด 2 สัปดาห์แล้ว ยังคลำก้อนหน้าท้องได้
การมีประจำเดือนครั้งแรกอาจมีมากกว่าปกติ แต่ถ้ามีเกินกว่า 7 วัน อาจผิดปกติ
ควรพักผ่อนให้มากจนกว่าจะรู้สึกแข็งแรง
ถ้าต้องการมีบุตรหรือเว้นระยะการมีบุตรควรปรึกษาเเพทย์
แนะนำการมาตรวจตามนัด นัดตรวจหลังคลอด 6 สัปดาห์
ควรรักษาความสะอาดร่างกายอยูเสมอ อาบน้ำวันละ 2 ครั้ง
การดูแลบุตร
การอาบน้ำ สาธิตการอาบน้ำและให้มารดาหัดอาบน้ำให้ทารก
แนะนำการดูแลทารกทั่วๆไป
การให้นมตามต้องการ ระวังเรื่องความสะอาด
หมายถึง ?
ระยะเวลาตั้งแต่หลังทารกและรกคลอดครบจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้
หลังคลอดระยะต้น ช่วงวันที่ 2-7 หลังคลอด
หลังคลอดระยะปลาย นับจากสัปดาห์ที่ 2-6 หลังคลอด
หลังคลอดทันที ระยะ 24 ชัวโมงแรกหลังคลอด