Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1,2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 1,2 ของการคลอด
ระยะที1 ของการคลอด (The stage of cervical dilatation)
ระยะตั้งแต่เริ่มจากเจ็บครรภ์จนปากมดลูกเปิดทั้งหมด 10 cm.
Latent phase ระยะปากมดลูกจะเปิดช้า ตั้งแต่เริ่มเจ็บครรภ์ จนปากมดลูกเปิดประมาณ 3 cm.
ระยะปากมดลูกเปิดอย่างรวดเร็ว เริ่มจากปากมดลูกเปิด 3-5 cm.
ระยะปากมดลูกเปิดอย่างรวดเร็วมากที่สุด เริ่มจากปากมดลูกเปิด 5-9 cm.
Active phase ตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 3-10 cm.
ระยะปากมดลูกเปิดช้าลง เริ่มจากปากมดลูกเปิด 9-10cm.
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในระยะที่1 ของการคลอด เมื่อมดลูกมีการหดรัดตัวเข้าสู้ระยะคลอด
การเปลี่ยนแปลงเฉพาะที่
การหดร้ดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
ระยะห่างของการหดรัดตัวและความถี่
ระยะพัก
ระยะการหดรัดตัวหรือความนาน
การทำงานประสานกันของกล้ามเนื้อมดลูก
การสั้นบางและการเปิดขยายของปากมดลูก
การมีมูกหรือมูกปนเลือดออกทางช่องคลอด
น้ำที่อยู่ตำ่กว่าส่วนนำและอยู่ในถุงน้ำที่แทรกอยู่ในปากมดลูก
น้ำที่อยู่เหนือส่วนนำส้อมรอบตัวทารก
การเปลี่ยนแปลงของถุงน้ำทูนหัว และภายในถุงน้ำคร่ำ
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อเอ็นต่างๆที่ยึดมดลูก
Round ligament
Utero-sacral ligament
Cardinal ligament
การเปลี่ยนแปลงระบบหัวใจและหลอดเลือด
การเปลี่ยนแปลงของระบบเลือดและเม็ดเลือด
การเปลี่ยนแปลงของระบบหายใจ
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร และการเผาผลาญพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงแปลงของระบบขับถ่าย
การเปลี่ยนแปลงของระบบกล้ามเนื้อและกระดูด
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ
ระยะที่2 ของการคลอด คือ ระยะตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 10 เซนติเมตรจนถึงทารกคลอด
Early หรือ late phase
Descent หรือ active phase
Perineal phase
สาเหตุที่ทำให้เกิดความเจ็บปวดในระยะนี้ คือ
เซลล์ของกล้ามเนืเอมดลูกมีภาวะพร่องออกซิเจนจากการหดรัดตัวของมดลูกที่รุนแรง
การยืดขยายของหนทางคลอดส่วนล่าง ช่องคลอด และฝีเย็บ
แรงกดบริเวณอวัยวะใกล้เคียงจากการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
อาการที่แสดงว่าผู้คลอดเข้าสู้ระยะที่ 2 ของการคลอด
จากการเบ่ง แต่อาจไม่แน่นอน ซึ่งต้องอาศัยการตรวจภายในต่อไป
ถุงน้ำทูนหัวแตก ซึ่งปกติเกิดในปลายการคลอดระยะที่ 1 หรือต้นระนะที่ 2 แต่ก็ใช้ยึดถือเป็นหลักแน่นอนทีเดียวไม่ได้
มีมูกเลือดออกมาเปรอะเปื้อนบริเวณปากช่องคลอดเป็นจำนวนมาก
การตรวจภายในทางทวารหนักหรือทางช่องคลอด พบว่า ปากมดลูกเปิดหมด
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของผู้คลอดในระยะที่ 1 ของการคลอด
ความกลัว
สิ่งแวดล้อมใน รพ.
เหตุการณ์ที่ไม่เป็นตามที่คาดหวังไว้
การขาดความรู้
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในการคลอด
ถูกแยกจากสังคม
ความวิตกกังวล หรือความเครียด
ความอ่อนล้า หมดแรง
ผลของการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาในระยะที่ 1 ของการคลอดต่อผู้คลอด
ได้รับความเจ็บปวดไม่สุขสบาย
มีโอกาสเกิด acidosis จาก metabolic acidosis ได้ง่าย เนื่องจากมดลูกมีการหดรัดตัวมาก
ผลของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในระยะที่1 ของการคลอดต่อทารก
ระบบประสาท
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระดับเลือดและเม็ดเลือด
ระบบการหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบไต
ระบบผิวหนัง
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและจิตสังคมในระยะที่2ของการคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงทางเเรงผลักดันทารก
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและบังลม
การหดรัดตัวของมดลูก
การเปลี่ยนแปลงของทารก
การเปลี่ยนแปลงของพื้นเชิงกรานเเละฝีเย็บ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคม
กลไกการคลอด
กลไกการคลอด หมายถึง ลำดับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตัวทารก
การคลอดปกติ คือ การคลอดทางช่องคลอดโดยทารกเอาท้ายทอยอยู่ด้านหน้าของช่องเชิงกรานคลอดได้เองโดยไม่ต้องอาศัยเครื่องมือใดๆ
Engagemnt หรือการเคลื่อนเข้าสู่อุ้งเชิงกรานของศีรษะ
การ พยบ. ในระยะเจ็บครรภ์คลอด
การพยาบาลด้านสุขวิทยา
การรับประทานอาหาร
การขับถ่าย
การขับถ่ายปัสสาวะ
การขับถ่ายอุจจาระ
การพักผ่อนและการนอนหลับ
ท่าของผู้คลอดและการทำกิจกรรม
การพยาบาลบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด
ทบทวนเทคนิคการผ่อนคลายความเจ็บปวดที่ผู้คลอดได้รับ
ประคบด้วยความร้อนและความเย็น
ให้ความรู้เกี่ยวกับการคลอด
การบรรเทาการปวดด้วยน้ำ
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การตรวจภายนอก
การเปลี่ยนแปลงของ show เมื่อใกล้คลอด
การตรวจทางช่องคลอด
fully dilatation
การเคลื่อนที่ต่ำของส่วนนำ
การหมุนภายในหัวเด็ก
หลักของการ พยบ. มารดาที่อยู่ในระยะคลอด
เข้าใจถึงภาวะจิตสังคมของมารดาในระยะคลอด
การ พยบ. ในระระแรกรับ
การตรวจร่างกาย
ตรวร่างกายทั่วไป
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และการสังเกตความผิดปกติของโครงสร้างกระดูก
ตรวจสัญญาณชีพ ควรทำหลังจากผู้ตลอดนอนพักบนเตียงตรวจแล้วประมาณ 10-15นาที
ตรวจลักษณะร่างกายทั่วไป เช่น ท่าทางการเดินซึ่งผิดปกติควรสงสัยว่าอาจมีความผิดปกติกระดูกหรือโครงสร้างของร่างกาย
ตรวจร่างกายตามระบบต่างๆ ดังนี้
ระบบประสาท เช่น การเคาะเข่าดู
ระบบหัวใจและการไหลเวียนของเลือด เช่น จังหวะและการเต้นของหัวใจ
ระบบการหายใจ เช่น อัตราการหายใจ ลักษณะการหายใจ กลิ่นที่ออกมากับลมหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
ระบบไต เช่น ลักษณะสี ปริมาณและกลิ่นของปัสสาวะที่ออก
ตรวจครรภ์
การดู ตรวจดูลักษณะทั่วไปของหน้าท้อง
การคลำ ใช้การลำตาม Leopold's handgrip
ฟังเสียงอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจความก้าวหน้าของการคลอดจากการตรวจภายในช่องคลอด
ข้อบ่ชี้ในการตรวจ
เมื่อถึงเวลาอันเหมาะสมในการตรวจ
3 more items...
ข้อห้ามในการตรวจทางช่องคลอดที่สำคัญ
สภาพถุงน้ำทูนหัว
ระดับของส่วนนำ
ความบางของปากมดลูก
ลักษณะของส่วนนำ
การเปิดขยายของปากมดลูก
ตำเเหน่งของปากมดลูก
ขนาดของเชิงกราน
วิธีการตรวจ การตรวจต้องใช้เทคนิคสะอาดปรากฏเชื้อและกั้มม่านไม่เปิดเผยผู้คลอด
สภาพฝีเย็บ
การซักประวัติ
ขอมูลทั่วไป
อาการสำคัญที่มา รพ.
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
ประวัติการตั้งครรภ์ และการคลอดในอดีต
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน
การเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ุ
การสวนอุจจาระ
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
มีประวัติเลือดออกทางช่องคลอด
เมื่อใกล้คลอดครรภ์เเรกปากมดลูกเปิด 8 cm. ขึ้นไป
มีถุงน้ำเเตก
ครรภ์ไม่ครบกำหนดคลอด
การเตรียมผู้คลอดควรเตรียมร่างกายเพื่อการคลอดดังนี้
ให้การ พยบ. ที่มีประสิทธิภาพโดย
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับความสุขสบาย
ใช้หลัก aseptic technique
เฝ้ดูและสังเกตอาการของผู้คลอดอย่างงใกล้ชิด
ให้การ พยบ. แก่ผู้คลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างรีบด่วนได้ และป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ระยะการเกิด engagement ในเด็กที่ศีรษะ
ข้อมูลการตรวจพบว่ามี engagement ของศีรษะ
กลไกของศีรษะทารกเมื่อมี engagement
Molding คือการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของหัวเด็กให้ขนาดเล็กลง
Asynclitism เป็นการตะเเคงศีรษะผ่านลงสู่ช่องเชิงกราน เเบ่งเป็น 2 ชนิด
Anterior asynclitism
Posterior asynclitism
Descen คือการที่ศีรษะเคลื่อนต่ำลงตามช่องคลอด เกิดจากเเรงดันของน้ำคร่ำ
Featl axis pressure
ลักษณะของช่องเชิงกราน
Flexion คือ การก้มการของศีรษะทารกจนคางขิดน่าอก
เเรงบีบจากผนังช่องทางคลอดที่ล้อมรอบหัวเด็กอยู่.เเรงต้านทานเสียดสีจากช่องคลอดที่ล้อมรอบหัวเด็กอยู่
lnternal ortation คือ การหมุนของส่วนศีรษะทารกที่เกิดขึ้นภายในช่องเชิงกราน
ช่องทางคลอด
เเรงผลักดันจากการหดรัดตัวของมดลูกและเเรงเบ่งของเเม่
Extension คือ การที่ศีรษะทารกเงยหน้าผ่านพ้นช่องคลอดออกมาภายนอก
ทารก
Expulsin คือ การขับเคลื่อนเอาตัวเด็กออกมาทั้งหมด.การพยาบาลในระยะที่2ของการคลอด
Restitution และ External rotation คือ การหมุนกลับของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอด
การ พยบ. ในระยะที่ 2 ของการคลอด
การป้องกันการติดเชื้อ และทำลายเชื้อ
ให้ได้รับความเจ็บปวดจากการคลอดน้อยที่สุด
การป้องกันหนทางคลอดฉีกขาด
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น Abruptio placeta,eclampsia ฯลฯ
การช่วยชีวิตของทารก
สภาวะของผู้คลอด ต้องสังเกตสิ่งผิดปกติของผู้คลอดระหว่างทางร่ายกายเเละจิตใจ
การตรวจและบันทึกสัญญาณชีพโดยการจับชีพจร
ควรงดน้ำและอาหาร
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างอยู่เสมอ.การพักผ่อน
ในระยะเเรกของการเบ่ง
ให้กำลังใจผู้คลอดว่าการคลอดใกล้จะสิ้นสุดลงเเล้ว
ในรายที่ต้องใช้เครื่องมือในการช่วยคลอด
ให้การช่วยเหลือเกี่ยวกับความเจ็บปวดในการคลอด
การสำรวจเเรงเบ่ง
ดูระนะถี่ห่างของเเรงเบ่ง
การเบ่งทุกครั้งต้องสัมพันธ์กันกับการหดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
แนะนำวิธีวิธีเบ่งที่ถูกต้องให้เเก่ผู้คลอด
ควรฟังเสียงหัวใจเด็กภายหลังจากมดลูกคลายการหดรัดตัวทุกครั้ง
สภาวะของทารกในครรภ์ โดยการฟังเสียงหัวใจทารกทุก15นาที
การหดรัดตัวของมดลูก โดยประเมินทุก 5-10นาที
การสำรวจการเลื่อนต่ำของส่วนนำ เมื่อปากลูกเปิดหมดไม่มีอะไรกีดขวางส่วนนำของเด็ก
ตำแหน่งของเสียงหัวใจเด็กที่ฟังได้ชัดที่สุด
ตรวจสังเกตดูบริเวณฝีเย็บ เมื่อศีรษะผ่านมาถึง
Bilateral inguinal grip
ดูระดับหัวของเด็กเพื่อสนับสนุนการตรวจ
สังเกตการเคลื่อนต่ำของ cephailc prominences
การตรวจทางทวารหนักหรือทางช่องคลอดเพื่อดูระดับของส่วนนำ
Pawlik's grip
สภาวะจิตใจของผู้คลอด โดยการประเมินความรู้สึกวิตกกังวลและความหวาดกลัว
เข้าใจพฤติกรรมของผู้คลอด
ให้คำชมเชย ให้กำลังใจและความมั่นใจ
แจ้งให้ผู้คลอดทราบถึงความก้าวหน้าของการคลอด
ต้องระมัดระวังคำพูด
การทำคลอดปกติ
การเตรียมคลอด เพื่อให้การช่วยเหลือการคลอดเป็นไปด้วยดี
การเตรียมสถานที่ ห้องคลอดจะต้องถูกดูแลให้สะอาดอยู่เสมอ
การเตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการทำคลอด
การช่วยเหลือการคลอด ผู้ทำคลอดจะให้การช่วยเหลือการคลอด ดังนี้
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การปูผ้า ในกรณีเร่งด่วนให้ปูผ้ารองก้นและช่วยทำคลอดทารกตามสถานการณ์
การเชียร์แบ่ง
การตัดฝีเย็บ
ประโยชน์การตัดฝีเย็บ มีดังนี้
สะดวกในการซ่อมแซมฝีเย็บ
ช่วงให้ระยะที่2ของการคลอดลดลง
ป้องกันการฉีกขาหือการหย่อนของพื้นเชิงกราน
ลดอันตรายต่อสมองทารก