Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลหลังคลอด
การพยาบาล
ตรวจดูการหดรัดตัวของมดลูกเเละวัดความสูงของมดลูก
ประเมินความเจ็บปวดเพื่อให้การพยาบาลลดการเจ็บปวด
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินเเผลฝีเย็บเเละน้ำคาวปลา
ตรวจกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ประเมินลักษณะปกติและผผิดปกติของเต้านมหัวนม
ดูเเลเพื่อช่วยคลายความวิตกกังวล
ดูเเลเรื่องการขับถ่าย
ดูเเลเรื่องการพักผ่อน
การลุกขึ้นเร็ว
การได้รับอาหารเเละน้ำ
การบริหารร่างกาย
การเปลี่ยนเเปลงระบบสืบพันธ์ุ
ปากมดลูก
หลังคลอด 1 day ปากมดลดจะกลับยาวลงมาเหมือนระยะก่อนคลอดโดยมดลูกจะหดตัวชาๆ
ภายหลังคลอด 1 wk. ปากมดลูกจะหดตัวตีบลงมาเหลือขนาด 1-2 cm. จะมีลักษณะฉีกขาดกระรุ่งงกระริ่งกลายเป็นติ่งเนื้อเล็กๆ
จะมีลักษณะอ่อนนุ่ม ซึ่งอาจจะมีการฉีกขาดจากการคลอดร่วมด้วย
แผลฝีเย็บ
จัดท่านอนตะเเคงและงอเข่าบนเข้าหาลำตัว ประเมินฝีเย็บ รูทวาร และริดสีดวงทวาร สังเกตอาการบวมซ้ำ มีก้อนเลือด มีสิ่งคัดหลั่งผิดปกติ เกิดเเผลเเยก
ประเมินพบ hematoma มีอาการปวดบริเวรฝีเย็บ ประคบเย็นเพื่อบรรเทาอาการปวดบวม
ควรประเมินอย่างน้อยทุก 8 hr.
ประเมินเเผลฝีเย็บ
ecchymosis มีก้อนเลือดคั่งใต้ผิวหนังหรือไม่
discharge สารคัดหลั่งจากบาดแผลมีลักษณะอย่างไร
edema แผลมีอาการบวมหรือไม่
approximation ขอบเเผลชิดติดกันหรือไม่
redness ประเมินลักษณะสีผิวบริเวณเเผลมีสีแดงเกิดข้นหรือไม่
น้ำคาวปลา
ประเมินลักษณะ สี ปริมาณ กลิ่น เพื่อประเมินภาวะตกเลือดหลังคลอด
ปริมาณเล็กน้อย หมายถึง เปื้อนผ้าอนามัยประมาณ 1-2 นิ้ว / ประมาณ 10 ml.
ปริมาณน้อย หมายถึง เปื้อนผ้าอนามัยประมาณ 4 นิ้ว / ประมาน 10-25 ml.
ปริมาณปานกลาง หมายถึง เปื้อนผ้าอนามัยประมาณ 4-6 นิ้ว / ประมาน 25-50 ml.
ปริมาณมาก หมายถึง เปื้อนผ้าอนามัยเต็ม 1 ผืน ภายใน 1 hr. ซึ่งเป็นสัญญาณของการตกเลือด
มดลูก
ให้มารดาปัสสาวะก่อน
ทำการวัดในท่านอนหงายชันเข่าเล็กน้อยผู้ตรวจคลำหายอดมดลูก ปกติมดลูกหลังคลอดจะอยู่ต่ำกว่าสะดือเล็กน้อยและเอียงมาทางด้านขวาเล็กน้อยประมาณ 6-12 cm.
เต้านมและการหลั่งน้ำนม
ประเมินเกี่ยวกับรูปร่าง ขนาด ความสมมาตร ก้อน อาการคัดตึง การมีผื่นหรือสีผิวผิดปกติ
ประเมินลักษณะหัวนมที่ผิดปกติเเละประเมินหัวนมแตก
การเปลี่ยนเเปลงด้านจิตสังคม
ความผูกพันและสัมพันธภาพ
จะมีการเริ่มสัมพันธภาพระหว่างมารดา-บิดา และทารก ใน 45 นาทีเเรกหลังทำความสะอาดเด็ก
ให้ลูกอยู่กับเเม่
ให้ลูกดูดนมแม่
การปรับตัวของมารดา
ระยะที่ 1 Taking in phase ระยะที่ต้องพึ่งพา 1-2 วันเเรก เช่น ปวดเเผลฝีเย็บ ปวดมดลูก คัดตึงเต้านม จึงไม่ต้องการทำอะไรด้วยตนเอง
ระยะที่ 2 Taking-hold phase ระยะที่พึ่งพาตนเองได้ เป็นระยะที่เเม่ให้ความสนใจเหมาะเเก่การสอนวิธีการเลี้ยงลูก การอาบน้ำ การให้นมบุตร
ระยะที่ 3 Letting-go phase เป็นช่วงเวลาที่ต้องปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงระบบครอบครัว ระยะนี้เป็นระยะที่ทั้งสามีและภรรยาต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน