Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2542
มี 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 78 มาตรา
หมวด 1 ความมุ่งหมายของหลักการ
มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งจิตสำนึกที่ถูกต้อง การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จัก สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เค้ารพกฎหมาย เคารพผู้อื่น เสมอภาค
มาตรา 8 การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก ดังนี้ จำ ตลอด ร่วม พัฒนา
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการศึกษา (All for Education)
พัฒนาสาระกระบวนการเรียนรู้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
เป็นการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อประชาชน (Education for all)
มาตรา 6 พัฒนาคนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรม : สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (เก่ง ดี มีสุข)
มาตรา 9 การจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลัก
กำหนดมาตรฐานระบบประกันคุณภาพทุกระดับ
ส่งเสริมวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
กระจายอำนาจเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระดมทรัพยาการ
มีเอกภาพหลากหลาย
การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรา 46 รัฐต้องสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือการยกเว้นภาษี และสิทธิประโยชน์อื่นในทางการศึกษาแกสถานศึกษาเอกชนตามความเหมาะสม
มาตรา 37 การบริหารและการจัดการ ให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึง
2) จำนวนสถานศึกษา
3) จำนวนประชากร
1) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4) วัฒนธรรม
5) ความเหมาะสมด้านอื่น
มาตรา 42 ให้กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาของ อปท.
มาตรา 45 ให้สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท
มาตรา 40 ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1) ขนาดเล็ก มีจำนวนนักเรียน ไม่เกิน 300 คน มีคณะกรรมการ 9 คน
2) ขนาดใหญ่ มีจำนวนนักเรียน เกิน 300 คน มีคณะกรรมการ 15 คน
มาตรา 43 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีคสวามเป็นอิสระ โดยมีการกำกับ ติดตามการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของรัฐ
มาตรา 34 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่
1) พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐาน และหลักสูตรแกรนกลาง
2) สนับสนุนทรัพยากรในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 38 ให้มีคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจหน้าที่
การกำกับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวมหรือเลิก สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา ประสานส่งเสริม และสนับสถานศึกษาเอกชนในพื้นที่
มาตรา 33 สถานศึกษามีหน้าที่
1) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานการศึกษา นโบาย
2) การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการศึกษา ให้เสนอต่อคณะรัฐมนตรี
มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
2) ด้านงบประมาณ
3) ด้านการบริหารงานบุคคล
1) ด้านวิชาการ
4) ด้านการบริหารงานทั่วไป
มาตรา 32 การจัดระเบียบนริหารราชการในกระทรวง
2) คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่เกิน 27 คน
3) คณะกรรมการอาชีวศึกษา ไม่เกิน 32 คน
4) คณะกรรมการการอุดมศึกษา ไม่เกิน 28 คน
1) สภาการศึกษา 59 คน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน
มาตรา 41 อปท. มีสิทธืจัดการศึกษาระดับใดระดับฤฺหรือทุกระดับ
มาตรา 31 กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าที่ส่งเสริม กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับทุกประเภท
หมวด 3 ระบบการศึกษา
มาตรา 15 รูปแบบการศึกษา
2) นอกระบบ (Non-formal Education) ยืดหยุ่น
สอดคล้องกับปัญหา และความต้องการบุคคลแต่ละกลุ่ม
3) ตามอัธยาศัย (Informal Education) สนใจ ความพร้อม โอกาส
1) ในระบบ (Formal Education) แน่นอน
มี 2 ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ จัดการศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ปี ก่อนระดับอุดมศึกษา
ประถม 7-12 ปี วางรากฐานให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
มัธยม
มัธยมตอนต้น
มัธยมตอนปลาย
2 more items...
ก่อนประถม 3-6 ปี วางรากฐานชีวิต เตรีมความพร้อมของเด็ก
การศึกษาระดับอุมศึกษา
ต่ำกว่าปริญญา (อนุปริญญา)
ปริญญา
กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการ หลักสูตร ระยะเวลา การวัดและประเมินผล
มาตรา 17 การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี
1) ให้เด็กที่อายุย่างเข้าปีที่ 7 จนถึงย่างเข้าปีที่ 16 เว้นแต่สอบได้ชั้นที่ 9
2) การนับอายุเด็กเข้าเรียนนับตามปฏิทิน
3) อายุเด็กที่เข้าเรียน
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
1) ระบบการประกันคุณภาพภายใน
2) เป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร เปิดเผยต่อสาธารณชน
3) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตรวจสอบทบทวน 1 ครั้งในทุกๆ 3 ปี
1) หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มีระบบประกันคุณภาพจากภายใน
3) กลุ่มตัวบ่งชี้การประเมิน รอบ 4 (พ.ศ.2559-พ.ศ.2563)
7 ด้าน 20 ตัวบ่งชี้
ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน
ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ด้านการบริการและธรรมภิบาล
ด้านอัตลักษณ์ เอกลักษณ์
ด้านคุณภาพครูอาจารย์
ด้านมาตรการส่งเสริม
คุณภาพศิษย์
2) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
5 ด้าน 15 มาตรฐาน 65 ตัวบ่งชี้
ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 / 4 มาตรฐาน
2) มาตรฐาน 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผู้บริหารสถานศึกษา
3) มาตรฐาน 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1) มาตรฐาน 1 คุณภาพผู้เรียน
4) มาตรฐาน 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล
1) ระดับการศึกษาปฐมวัย
5 ด้าน 11 มาตรฐาน 51 ตัวบ่งชี้
2) ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่ง
โดย สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน)
อย่างน้อย 1 ครั้งทุก 5 ปี
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 54
2) ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์
พระราชบัญญัติเงินเดือน วิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่งข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา 2547
3) ผู้รักษากฎหมาย
1) พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
2) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3) พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
1) ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
ทำให้เกิด พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางศึกษา
มาตรา 53
ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา
มีฐานะเป็นองค์กรอิสระ ภายใต้การบริหารของสภาวิขาขีพในกำกับของกระทรวง
ทำให้เกิด พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 2546 (คุรุสภา)
ยกเว้นผู้จัดการศึกษาตามอัฒยาศัยในศุนย์การเรียนรู้ วิทยากรพิเศษ ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากรและการลุงทุนทางการศึกษา
มาตรา 58
2) บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลโดยมีผู้อุทิศให้หรือโดยการซื้อหรือแลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษา ไม่ถือเป็นราชพัสดุและให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา
3) บรรดารายได้และผลประโยชน์ของสถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลรวมทั้ง
2) เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญา
3) เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาการซื้อทรัพย์สิน ที่ดำเนินการโดยใช้เงินงาบประมาณ
1) ผลประโชยน์ที่เกิดจากราชพัสดุ
1) ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณทุกภาคส่วนมาใช้จัดการศึกษา
1) รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่งเสริมและให้แรงจูงใจในการระดมทรัพยากร
2) ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลมีอำนาจในการดูแล ดำรงรักษาใช้จัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา ทั้งที่เป็นราชพัสดุ ที่เป็นทรัพย์สินอื่น รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษา
มาตรา 60
ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีคนสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ
2) ปัจจัยพื้นฐานสำหรับโรงเรียนยากจนและโรงเรียนปกติ
ประถมศึกษา - 1,000 บาท/คน/ปี
มัธยมศึกษาตอนต้น - 3,000 บาท/คน/ปี
3) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบปรับเพิ่มค่าอาหารกลางวัน ( 22 ตุลาคม 2556 )
จาก 13 บาท เป็น 20 บาท/คน/วัน
1) เงินอุดหนุนรายหัวสำหรับโรงเรียนปกติ
1) ก่อนประถมศึกษา - 1,700 บาท/คน/ปี
2) ประถมศึกษา - 1,900 บาท/คน/ปี
3) มัธยมศึกษาตอนต้น - 3,500 บาท/คน/ปี
4) มัธยมศึกษาตอนปลาย - 3,800 บาท/คน/ปี
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ของการศึกษา
มาตรา 10 การจัดการศึกษา รัฐต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน ไม่น้อยกว่า 12 ปี อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
บกพร่อง : จัดให้มีสิทธิและโอกาสขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
พิการ : แรกเกิดหรือพบความพิการ (ไม่เสียค่าใช้จ่าย)
มีความสามารถพิเศษ : จัดด้วยรูปแบบที่เหมาะ คำนึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น
มาตรา 12 นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และอปท. ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน เอกชน วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง)
มาตรา 13 บิดา มารดา ผู้ปกครอง มีสิทธิประโยชน์ดังต่อไปนี้
2) เงินอุดหนุนจากรัฐในการเลี้ยงบุตร
3) การลดหย่อยภาษี ยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา ตามกฎหมายกำหนด
1) การสนับสนุนจากรัฐ ให้ความรู้ในการอบรมเลี้ยงดู
มาตรา 14 บุคคลตามมาตรา 12 มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ตามควรแก่กรณี ดังนี้
2) เงินอุดหนุนจากรัฐ สำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3) การลดหย่อนภาษี สำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษาตามกฎหมายกำหนด
1) เงินสนับสนันจากรัฐที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
มาตรา 11 บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลที่อยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ นอกเหนือจากการศึกษาภาคบังคับตามความพร้อมของครอบครัว
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียน โดยพิจารณาจาก
1) พัฒนาการของผู้เรียน
2) ความประพฤติ
3) การสังเกตพฤติกรรม
4) การร่วมกิจกรรม
5) การทดสอบควบคู่ในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละรูปแบบการศึกษา
มาตรา 25 รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ห้องสมุด หอศิลป์ พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูล แหล่งการเรียนรู้อื่นอย่างพอเพียงและมีประสิทธภาพ
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้
2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา การเผชิญประสบการณ์
3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกทำได้ คิดเป็น ทำเป็น
1) จัดเนื้อหาสาระกิจกรรม สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน
4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสาน ปลุกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
5) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สอนสมารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน สามารถใช้วิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นทุกเวลาทุกสถานที่
มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาต่างๆ ต้องหลากหลายมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ให้เหมาะสมแก่วัยและศักยภาพ
สาระของหลักสูตร ทั้งที่เป็นวิชาการ วิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนไทยให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสมารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม
มาตรา 23 การจัดการศึกษาทั้ง 3 รูปแบบ ต้องเน้นทั้ง K P A
K - Knowledge ความรู้
P - Practice กระบวนการเรียนรู้
A - Attitude คุณธรรม
มาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิต และประกอบอาชีพตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า "ผู้เรียนสำคัญที่สุด" ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้
มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การสอนที่มีประสิทธิภาพ ทั้งส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
2) กรอบหลักสูตรท้องถิ่น - สำนักงานเขตพื้นที่
3) พัฒนาสาระการเรียนรู้ - สำนักงานเขตพื้นที่
1) กำหนดหลักสูตรแกนกลาง - คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
4) กำหนดสาระจัดทำสาระ - สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิ์ได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการผลิตแบบเรียน ตำรา หนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น
มาตรา 68 ให้มีการระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐ
ค่าสัมปทาน และผลกำไรจากด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยี และโทรคมนาคมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
สาเหตุ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ผู้รับสนอง นายชวน หลีกภัย
ประกาศใช้ 19 สิงหาคม 2542 มีผลบังคับใช้ 20 สิงหาคม 2542
พุทธศักราช 2545
ผู้รับสนอง พลตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
มี 9 มาตรา
ประกาศ 1 ธันวาคม 2545 มีผลบังคับใช้ 20 ธันวาคม 2545
สาเหตุ
ปฏิรูประบบราชการในเขตพื้นที่การศึกษา แยกคณะกรรมการอาชีวศึกษา พิจารณาเสนอแผน พัฒนา หลักสูตรเป็นของตัวเอง
แยกภารกิจเกี่ยวกับด้านศิลปะและวัฒนธรรม ไปจัดตั้งกระทรวงวัฒนธรรม
พุทธศักราช 2553
ผุ้รับสนอง นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
มี 4 มาตรา
ประกาศ 22 กรกฎาคม 2553 มีผลบังคับใช้ 23 กรกฎาคม 2553
สาเหตุ : แบ่งเขตพื้นที่การศึกษา เกิด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพื่อให้การบริหารมีประสิทธิภาพ
คำจำกัดความ
1) การศึกษา : กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก อบรม สืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์ ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้ เพื่อให้บุคคลเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต
2) การศึกษาขั้นพื้นฐาน : การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
3) การศึกษาตลอดชีวิต : ผสมผสาน ในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย
4) สถานศึกษา : โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย สถาบัน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และศูนย์การเรียนรู้
6) ประกันคุณภาพภายใน : การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถานศึกษาหรือหน่วยงานต้นสังกัด
7) ประกันคุณภาพภายนอก : การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) ประเมิน เพื่อเป็นการประกันคุณภาพ พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการเรียนรู้
8) ครู : บุคลากรวิชาชีพที่ทำหน้าที่การสอน การเรียน และการส่งเสริมการเรียนรู้ในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน
9) คณาจารย์ : บุคคลากรทำหหน้าที่หลักด้านการสอน และกรวิจัยในสถานศึกษาแต่ละแห่ง ทั้งของระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
10) ผู้สอน : ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาในระดับต่างๆ
11) สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
5) มาตรฐานการศึกษา : ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และมาตรฐาน ต้องการให้เกิดกับสถานศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักเทียบเคียง สำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแลตรวจสอบ ประเมินผลและประกนคุณภาพทางการศึกษา