Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแสวงหาข้อมูลและความรู้ - Coggle Diagram
การแสวงหาข้อมูลและความรู้
การแสวงหาข้อมูลและความรู้
วิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์
การสอบถามจากผู้รู้
การศึกษาจากขนบธรรมเนียมประเพณี
การใช้ประสบการณ์
วิธีการอนุมาน
ข้อเท็จจริงใหญ่ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เป็นจริงอยู่แล้วในตัวมันเอง
ข้อเท็จจริงย่อย ซึ่งมีความสัมพันธ์กับกรณีของข้อเท็จจริงใหญ่
ข้อสรุป ถ้าข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อยเป็นจริง ข้อสรุปก็จะต้องเป็นจริง
วิธีการอุปมาน
วิธีการอุปมานแบบสมบูรณ์ : เป็นการเเสวงหาความรู้โดยรวบรวมข้อเท็จจจริงย่อยๆจากทุกหน่วยของกลุ่มประชาการแล้วนำมาสรุป
วิธีการอุปมานแบบไม่สมบูรณ์ :เป็นการแสวงหาความรู้โดยรวบรวมข้อเท็จจริงย่อยๆจากบางส่วนของกลุ่มประชากรแล้วนำมาสรุป
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการแสวงหาข้อมูลความรู้
การตั้งคำถามเพื่อการแสวงหาข้อมูล โดยใช้เทคนิค 5 W 1H
WHAT
WHY
WHEN
WHERE
WHO
HOW
แหล่งข้อมูลความรู้
แหล่งที่มาของข้อมูลทั่วไป
บุคคล
สถาบัน
สื่อมวลชน
อินเตอร์เน็ต
ลักษณะรูปแบบของแหล่งข้อมูล
สื่อตีพิมพ์ : หนังสือ วารสาร
สื่อไม่ตีพิมพ์ : วีดีทัศน์ สไลด์ เทปเสียง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ : e-books
การวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อสร้างความรู้
ความรู้
ความหมายของความรู้
ประเภทของความรู้
ความรู้ที่ฝังอยู่ในสมอง (ความรู้ในตัวคน)
ความรู้ที่ชัดแจ้ง (ความรู้นอกตัวคน)
การคิดวิเคราะห์
ความหมายของการคิดวิเคราะห์
สักษณะของการวิเคราะห์
องค์ประกอบของการคิดวิเคราะห์
การตีความ ความเข้าใจและให้เหตุผลแก่สิ่งที่ต้องการวิเคราะห์
การมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะวิเคราะห์
การช่างสังเกต สงสัย ช่างถาม
การหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล (คำถาม) ค้นหาคำตอบได้
การะบวนการคิดวิเคราะห์
ระบุหรือทำความเข้าใจกับประเด็นปัญหา
รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
พิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล
การจัดข้อมูลเข้าเป็นระบบ
ตั้งสมมติฐาน
การสรุป
การประเมินข้อสรุป
การสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์
สุวิทย์ มูลคำ : การคิดวิเคราะ์เป็นการใช้สมองซีกซ้ายเป็นหลัก เน้นคิดเชิงลึกจากเหตุไปสู่ผล เชื่อมโยงความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผล เชิงเงื่อนไข การจัดลำดับความสำคัญ และเชิงเปรียบเทียบ และการใช้คำาม 5 W 1 H
ไพรินทร์ หมบุตร : แนะนำขั้นตอนการฝึกคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน 1) ศึกษาข้อมูลหรือสิ่งที่ต้องการสิเคราะห์
2) กำหนดวัตถุประสงค์ / เป้าหมายของการคิดวิเคราะห์
3) แยกแยะแจกแจงรายละเอียดสิ่งของที่ต้องการวิเคราะห์
4) ตรวจสอบโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบใหญ่และย่อย
5) นำเสนอข้อมูลการคิดวิเคราะห์
6) นำผลมาวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตามเป้าหมาย
Bloom : ได้จำแนกจุดมุ่งหมายของการศึกษาด้านการคิดตอนต้นและได้เรียบเรียงลำดับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นง่ายไปสู่พฤติกรรมที่ซับซ้อนมี 6 ระดับขั้น ระดับความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การคิดวิเคราะห์ และการประเมินค่าจากการศึกษาเทคนิคการสอนทางการคิดวิเคราะห์