Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือทางดาราศาสตร์ - Coggle Diagram
เครื่องมือทางดาราศาสตร์
ประวัติการสร้างกล้องโทรทรรศน์
Hans Lippershey
ค้นพบหลักและคุณสมบัติของเลนส์นูนและเลนส์เว้า
ทดลองวางเลนส์นูนไว้ข้างหน้าและเลนส์เว้าไว้ใกล้ตา ทำให้มองเห็นวัตถุใกล้ขึ้น
กาลิเลโอ
สร้างกล้องโทรทรรศน์อันแรก
ศึกษาพื้นผิวดวงจันทร์
พบจุดบนดวงอาทิตย์
พบดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี
ศึกษษการเปลี่ยนแปลงของดาวศุกร์
พบวงแหวนของดาวเสาร์
เคปเลอร์
ปรับปรุงแก้ไขกล้องโทรทรรศน์
เปลี่ยนเลนส์ตาเป็นเลนส์นูน
มองเห็นภาพได้กว้างขึ้น
ปัญหาที่พบ
ความคลาดทรงกลม
ทำให้มองไม่ชัด
ความคลาดสี
ทำให้ภาพเป็นสีรุ้ง
John Hadley
แก้ปัญหาความคลาดทรงกลม
ทำผิวสะท้อนแสงให้เป็นผิวโค้งแบบพาราโบลา
นิวตัน
สร้างกล้องโทรทรรศน์โดยใช้กระจกเว้าแทนเลนส์
แก้ปัญหาความคลาดสีได้
สร้างกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงเป็นคนแรก
Sir William Herschel
สร้างกล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสงขนาดใหญ่ขึ้น
พบดาวยูเรนัสเป็นคนแรก
ชนิดกล้องโทรทรรศน์
ขนิดหักเหแสง
ส่วนประกอบสำคัญ
เลนส์วัตถุ (Objective Lens)
เลนส์ตา (Eyepiece)
การทำงาน
1.เลนส์วัตถุรับแสงจากวัตถุให้ได้มากที่สุด
2.เกิดภาพที่จุดโฟกัส
3.ขยายภาพโดยเลนส์ตา
แบ่งตามลักษณะเลนส์
Galilean Telescope
เลนส์ตาเป็นเลนส์เว้า
ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่
Keplerian Telescope
เลนส์ตาเป็นเลนส์นูน
ภาพจริงหัวกลับขนาดใหญ่
ชนิดสะท้อนแสง
ใช้กระจกเว้าสะท้อนแสง เรียก กระจกวัตถุ (Objective Mirror)
การทำงาน
1.กระจกวัตถุรวมภาพวัตถุให้มาอยู่ที่จุดโฟกัส
2.ใช้เลนส์ตาขยายภาพ
แบ่งตาลักษณะของโฟกัส
Gregorian
ใช้กระจกเว้าเป็นกระจกใหญ่
โค้งแบบ Paraboloid
โค้งแบบวงรี
การทำงาน
1.กระจกโค้งแบบ Paraboloid รับแสงจากวัตถุ
2.สะท้อนแสงไปรวมกันที่โฟกัส และปล่อยให้แสงตัดกัน
3.แสงที่ตักันไปตกกระทบที่กระจงโค้งแบบวงรี แล้วสะท้อนไปที่โฟกัสอีกครั้ง
4.ใช้เลนส์ใกล้ตาขยายภาพ
Cassegrain
คล้าย Gregorain แต่ใช้กระจกเว้าโค้งแบบ Hyperboloid
ลำกล้องสั้น ขนาดกะทัดรัด
Coude'
สะดวกในการใช้งาน
ตำแหน่งโฟกัสคงที่ ไม่เปลี่ยนทิศทาง
ใช้กระจกเรียบหักเหแสง
Schmidt
มีมุมกว้างเป็นพิเศษ
ใช้กระจกเว้าผิวโค้งทรงกลมรับแสง
ใช้เลนส์แบบพิเศษ แก้ความคลาดทรงกลม และขอบเขตการมองเห็นภาพ
กำลังขยายของกล้องโทรทรรศน์
วิธีคำนวณ
นำความยาวโฟกัสของเลนส์วัตถุหารด้วยความยาวโฟกัสของเลนส์ตา
การเพิ่มกำลังขยาย
กล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็ก
เปลี่ยนโฟกัสของเลนส์ตา
กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่
เปลี่ยนขนาดของเลนส์วัตถุและเลนส์ตา
ค่าของความสว่าง
ปริมาณพลังงานแสงที่ตกลงบน 1 หน่วยพื้นที่ของภาพต่อ 1 หน่วยเวลา
ความสว่างของภาพขึ้นอยู่กับขนาดของเลนส์วัตถุ
วิธีคำนวณความสว่างของดวงดาว
ใช้ความสัมพันธ์ของขนาดเลนส์และความยาวโฟกัส
การติดตั้ง
แบบฐานตั้งอัลตาซิมัท
ง่ายที่สุด
ติดตั้งบนฐานที่มีแกนหมุน 2 แกน คือแกนในแนวิ่งกับแนวราบ
กล้องหมุนมุมอัลติจูดได้อย่างน้อยครึ่งรอบ
ฐานตั้งอีเควตอเรียลแบบเยอรมัน
สะดวก สามารถติดตามการเคลื่อนที่ประจำวันได้
มีแกนหมุน 2 แกน คือแกนหมุนขั้วกับแกนเดคลิเนชัน
กล้องชี้ไปยังดาวฤกษ์ดวงเดิมได้ตลอดเวลา
ฐานตั้งอีเควตอเรียลแบบอังกฤษ
แกนขั้วขวางอยู่บนเสา 2 เสาในแนวเหนือใต้
ลักษณะกลวง ภายในมีช่องให้แสงดาวผ่าน
โฟกัสจะอยู่นิ่ง