Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะของการคลอด, การประเมินและการส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด,…
การพยาบาลในระยะของการคลอด
ซักประวัติ
อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาล
ลักษณะจำนวนสิ่งคัดหลังที่ออกทางช่องคลอด
ลักษณะน้ำเดิน
ลักษณะของอาการเจ็บครรภ์
ข้อมูลส่วนตัว
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
การแท้งและการขูดมดลูก
การคลอดในครรภ์ก่อนๆ
ข้อมูลอื่นๆเช่นการล้วงรก การผ่าตัดเกี่ยวกับมดลูก การตกเลือดหลังคลอด
ประวัติด้านจิตสังคม
ประสบการณ์การตั้งครรภ์และการคลอด
การวางแผนการตั้งการวางแผนการตั้งครรภ์และการ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต/ปัจจุบัน
การตรวจร่างกาย
อาการบวม
ประเมินสัญญาณชีพ
ลักษณะทั่วไปเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของผู้คลอด
การตรวจปัสสาวะ
รูปร่างและโครงสร้างของร่างกาย
การตรวจครรภ์
การคลำ
วิธีของ Leopold’s hand grip
Fundal grip ตรวจหาระดับยอดมดลูก
Lateral grip คลำว่าส่วนหลังของทารกอยู่ด้านใน
Pawlik grip หาส่วนนำของทารกประเมินว่าส่วนนำลงสู่อุ้งเชิงกรานหรือไม่
Bilateral inquinal grip ประเมินทรงของทารกและยืนยันว่าส่วนนำเข้าสู่อุ้งเชิงกรานหรือไม่
การฟังอัตราการเต้นของหัวใจ
เป็นการประเมินสภาพทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่หรือไม่
ค่าปกติ 110 ถึง 160 ครั้งต่อนาที
การดู
ลักษณะของหน้าท้อง
ลักษณะของแนวมดลูก
ขนาดของหน้าท้อง
การตรวจภายใน
เพื่อประเมินว่าผู้คลอดเข้าสู่ระยะคลอดหรือไม่
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินท่าของทารก
รกเกาะต่ำห้ามตรวจภายใน
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การคลำ
Interval
Intensity or severity
Duration
ใช้เครื่องตรวจติดตามสภาพทารกในครรภ์ EFM
External monitoring ติดที่หน้าท้อง
Internal monitoring ติดเข้าไปในช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจเลือด
การตรวจU/S ,NST
การพยาบาลในระยะที่2ของการคลอด
ประเมินอาการและอาการแสดงของผู้คลอด
Propable signs อาจเข้าระยะ2
มดลูกหดรัดตัวรุนแรงและนานขึ้น
มีมูกเลือดออกเพิ่มมากขึ้น
ปากช่องคลอดถ่างขยาย Gapping
มองเห็มองเห็นส่วนนัมของทารกบริเวณปากช่องคลอด
มีอาการปวดท้องเบ่ง Bearing Down
Positive sign ระยะ2แน่นอน
ตรวจภายในคลำไม่พบปากของมดลูก
การเตรียมคลอด
(Preparations for delivery)
เตรียมเครื่องมือ
อุปกรณ์สำหรับคลอด
ชุดรับคลอด
เครื่องมือรับคลอด
น้ำยาต่างๆ
เครื่องช่วยชีวิตทารก ออกซิเจน เครื่องดูดเสมหะ
ชุดทำความสะอาดอวัยวะเพศ
โต๊ะวางอุปกรณ์
เตรียมผู้คลอด
อธิบายเหตุผลการปฏิบัติตนอยู่บนเตียงคลอด
จัดท่าคลอด
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
การเบ่งคลอด
การตัดฝีเย็บ
Median Episiotomy
Mediolateral Episiotomy
เตรียมสถานที่
ห้องคลอด
ผู้คลอด
การเตรียมผู้ทำคลอด
ฟอกถูมือก่อนทำคลอด
ซับมือให้แห้งด้วยผ้าปราศจากเชื้อ
ทุกครั้งก่อนตรวจภายใน ต้องผูกแมส ป้องกันการติดเชื้อ
สวมถุงมือSterile
เปลี่ยนเสื้อผ้า รองเท้าและใส่หมวกคลุม
ขั้นตอนการทำคลอด
1.ทำคลอดศีรษะ
ไม่ให้ศีคลอดตอนมีการหดรัดตัวของมดลูก
พยายามให้ทารกก้มจนท้ายทอยพ้นรอยต่อกระดูกหัวเหน่าค่อยโกยให้เงย
ไม่ควรให้ศีรษะคลอดเร็ว
หลังศีรษะคลอดแล้ว
ห้ามผู้คลอดเบ่ง อ้าปากหายใจลึกๆยาวๆ
หมุนศีรษะทารก90องศา
เช็ดตาทารก จากหัวไปหางตา
Suction ปากจมูก
ดูสายสะดือ
2.คลอดไหล่และตัว
ทำคลอดไหล่หน้า สองมือจับขมับทารก โน้มหัวทารกลง45องศา จนเห็นซอกรักแร้
บอกผู้ช่วยฉีดยาoxytoxin
ทำคลอดไหล่หลัง โน้มหัวทารกขึ้น45องศา จนไหล่หลังคลอดเห็นซอกรักแร้
ดึงหัวทารกออกมาตรงๆจนเห็นสายสะดือ
5.หลังผูกและตัดสายสะดือ
ผู้กป้ายข้อมือทารก วางทารกที่อกผู้คลอด
ประเมินทารก APGAR SCOREใน1นาที
วางทารกบนcribจับผ้าด้านในห่อทารกใส่หมวกผ้าที่หัว
3.การปฏิบัติหลังทารกคลอด
พอคลอดออกมาทั้งตัววางทารกหันไปทางช่องคลอด เช็ดตัวให้แห้ง suction ผูกและตัดสายสะดือ อุ้มให้แม่ดูเพศ
4.การผูกและตัดสายสะดือ
เช็ดสะดือด้วยน้ำPovidone-idine
ตัดสายสะดือเหนือclampแรก ประมาณ1เซนติเมตร ใน1นาที
การพยาบาลมารดาในระยะที่1ของการคลอด
ให้การพยาบาลผู้คลอดและทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
การขับถ่ายและกระเพาะปัสสาวะ
การบรรเทาอาการเจ็บปวด
การพักผ่อนและการทำกิจกรรม
การจัดท่าผู้คลอด
ภาวะโภชนาการ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ความสุขสบายของสิ่งแวดล้อม
เฝ้าระวังและประเมินสัญญาณอันตราย
การหดรัดตัวของมดลูกรุนแรงผิดปกติ
ทารกอยู่ในภาวะเครียด
จัดท่านอนผู้คลอดตะแคงซ้าย
ให้ออกซิเจน 5 Lpmเพิ่มปริมาณออกซิเจนในกระแสเลือด
รายงานแพทย์ที่มีอาการเปลี่ยนแปลงทุกครั้ง
ฟังFHS ทุก5-10นาที
ประคับประคองจิตใจอยู่ใกล้ชิด
ช่วยแพทย์ในการเตรียมคลอด
จัดเตรียมเครื่องมือในการช่วยเหลือเด็กไว้ให้พร้อม
ภาวะขาดสารน้ำและอาหาร
การพยาบาลระยะที่3ของการคลอด
1.เพื่อป้องกันการตกเลือด
ถ้าut.หอตัวไม่ดีดูbladder
หลังรกคลอด ฉีดยาให้ut.หดรัดตัวดี
รอรกลอกเองห้ามใช้มือคลึงมดลูก
2.ป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลความสะอาด
3.ให้ความอบอุ่น
4.สังเกตและประเมิน
ประเมินการหดรัดตัวมดลูก
ประเมินเลือดออกจากมดลูก
ประเมินสัญญาณชีพ
การทำคลอดรก
ให้คลอดเองตามธรรมชาติ
ช่วยเหลือในการคลอดรก
Modified crede’ maneuver
Brandt-andrews maneuver
Cord traction
ชนิดการลอกตัวของรก
Duncan mechanism
พบ30%มีVulva sign
Schultze mechanism
พบ70%ไม่มี Vulva sign
การตรวจรก
ตรวจเยื้อหุ้มเด็ก
ตรวจรกด้านลูก
ตรวจรกด้านแม่
ตรวจสายสะดือ
ตรวจดูchorion
การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ
เตรียมผู้คลอด
ชนิดการเย็บ
เย็บภายใน
เย็บภายนอก
เตรียมเครื่องมือ
หลังเย็บเสร็จต้องทำPerrectum
การพยาบาลระยะที่4ของการคลอด
การป้องกันPPH
V/S
Vg. Bleeding
Vulva/ฝีเย็บ
uterus
Bladder
ความสะอาด อาหาร ให้ความอุ่น
ส่งเสริมสัมพันธภาพของครอบครัว
การบันทึกรายงานการคลอด
การย้ายมารดาออกจากห้องคลอด
การประเมินและการส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
Latent phase บันทึกทุก15-20นาที
ระระยะแรกมดลูกหดรัดตัวทุก 10 ถึง 15 นาที นาน 15ถึง 20 วินาทีปวดไม่รุนแรง เมื่อการคลอดดำเนินต่ออาการปวดรุนแรงมากขึ้น
Active phase บันทึกุก15-30นาที
ใช้กราฟ
Curve of cervical dilitation
Acceleration
Phase of maximum slope
Latent phase
Deceleration phase
Second phase
WHO paragraph
ช่วยให้การคลอดดำเนินต่อไปจากการช่วยเหลือแก้ไขความผิดปกติตั้งแต่เนิ่นๆ
ทำให้การเจ็บครรภ์คลอดสิ้นสุดลงในเวลาที่เหมาะสม
วินิจฉัยการดำเนินการคลอดที่ผิดปกติ
การตรวจภายใน
ตำแหน่งของปากมดลูก
การเปิดขยายของปากมดลูก
ลักษณะของปากมดลูก
ระดับของส่วนนำ
การหมุนของศีรษะ
การประเมินผู้คลอดรับใหม่
นางสาวจุรีพันธ์ เตชะอัศวรักษ์
รหัส180101042 นักศึกษาพยาบาลปีที่3