Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลระยะที่1, 2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลระยะที่1, 2 ของการคลอด
ระยะที่ 1 ของการคลอด
- Latent phase : ปากมดลูกเปิดช้า 1-3 cms.ในครรภ์ใช้เวลาไม่ควรเกิน 20 ชั่วโมง & 14 ชั่วโมง ในครรภ์หลัง
- Active phase : นับตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 3-10 cms. ในครรภ์แรกเปิดอย่างน้อย 1.2 cm./hr. & ครรภ์หลังอย่างน้อย 1.5 cm./hr.
- phase of maximum slope : ปากมดลูกเปิด 5-9 cms. ใช้เวลา 2 hr.ในครรภ์แรก & 1 hr.ในครรภ์หลัง
- deceleration : ปากมดลูกเปิด 9-10 cms. ใช้เวลา 1 hr. 30 min.ในครรภ์แรก & ไม่ถึง 30 min.ในครรภ์หลัง
- acceleration : เริ่มจากปากมดลูกเปิด 3-5 cms. ใช้เวลา 2 hr.ในครรภ์แรก & 1 hr.ในครรภ์หลัง
-
การเปลี่ยนแปลงต่อทารก
แรงดันจากการหดรัดตัว > กดศีรษะทารก >อัตราการเต้นของหัวใจลดลงเล็กน้อย > ผลักทารกก้มและงอตัว ศีรษะทารก molding > ความดันภายในสูง
-
การพยาบาล
- ดูแลให้ผู้คลอดสุขสบาย ปลอดภัยในระยะเจ็บครรภ์ ระยะคลอด 2ชม. หลังคลอด
- ใช้หลัง aseptic technique
- เฝ้าดูและสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ลักษณะการหดรัดตัว การดำเนินการคลอด กระบวนการคลอด
-
-
- แสดงพฤติกรรมต้อนรับผู้คลอดด้วยสีหน้ายิ้มแย้ม เห็นอกเห็นใจ
- แนะนำให้รู้จักสถานที่ เจ้าหน้าที่อย่างคร่าวๆ
- การให้ยาบรรเทาความปวด และการพักผ่อนนอนหลับ
- ทบทวนเทคนิคการผ่อนคลายความเจ็บปวด
- ประเมินความก้าวหน้าในการคลอด
ระยะที่ 2 ของการคลอด
- ระยะเวลาครรภ์ 1 hr.ไม่ควรเกิน 2 hr. ครรภ์หลัง 30 min. ไม่ควรนานเกิน 60 min.
- ตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 10 cms.จนถึงทารกคลอดมาหมดทั้งตัว
Early or late phase
- เป็นช่วงที่ต่อจากปากมดลูกเปิดหมด ผู้คลอดอาการสงบ พักหลับได้ช่วงสั้นๆ ความถี่ ความรุนแรงของการหดรัดตัวลดลง > จัดระบบเพื่อเตรียมเบ่งคลอดประมาณ 10-30 นาที
Perineal phase
- ฝีเย็บบาง โป่งตึง เห็นส่วนนำ ทวารหนักบานออก มีอุจจาระออกมาด้วย การหดรัดตัวถี่และรุนแรง
Descent or active phase
- ช่วงการเคลื่อนต่ำของส่วนนำเห็นชัด มีการหดรัดตัวประมาณ 2-3 ครั้งผู้คลอดเบ่ง> ส่วนนำเคลื่อนต่ำลงเรื่อยๆ ส่วนที่กว้างที่สุดของส่วนนำ crowning ไม่กลับขึ้นไปเมื่อมดลูกคลายตัว
-
สาเหตุที่ทำให้เจ็บปวด
- เซลล์กล้ามเนื้อมดลูกพร่องออกซิเจนจากการหดรัดตัวที่รุนแรงขึ้น
- การยืดขยายของทางคลอดส่วนล่าง ช่องคลอด ฝีเย็บ
- แรงกดจากการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
-
กลไก
-
Descent: การที่ศีรษะเคลื่อนต่ำลงตามช่องทางคลอด Flexion: การก้มของศีรษะทารกจนคางชิดหน้าอก ทำให้ส่วนนำเปลี่ยน จาก OF เป็น SOB
-
-
-
Restitution และ External rotation: การหมุนกลับ ของศีรษะทารกภายนอกช่องคลอดให้สัมพันธ์กับ ภายในช่องทางคลอด
-
-
-
การพยาบาลเตรียมผู้คลอด
จัดท่าให้เหมาะสม > ส่งเสริมให้มารดาอยู่ในท่านอนหงายชันเข่า, นอนตะแคงข้าง, ท่าขึ้นขาหยั่ง
-
-
-
-
-