Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหลังคลอด, นางสาว โยธกา ใช่ประพันธ์กูล รหัสนักศึกษา 180101076 …
การพยาบาลหลังคลอด
การให้คำแนะนำมารดาในการให้นมทารก
หลักการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ระยะหลังคลอด 2-3 วันหลังคลอด
หลัก 3 ดูด
ดูดเร็ว
ดูดบ่อย
ดูดถูกวิธี
ลักษณะน้ำนมแม่หลังคลอด
หัวน้ำนม (Colostrum)
ข้น เหลือง ส้มของ Vit A ใน 2-3 วันหลังคลอด
ดีต่อสายตา
เปี่ยมภูมิคุ้มกัน
ช่วยขับขี้เทา
น้ำนมใส (Transitional milk)
เป็นส่วนประกอบของหัวน้ำนมกับนมขาวในช่วง 3-7 วัน
อาจคัดตึง
น้ำนมขาว (Mature milk)
หลัง 7-10 วัน
มีไขมันเยอะ
ประโยชน์ต่อแม่
ช่วยขับน้ำคาวปลา และช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็ว
ช่วยให้รูปร่างดีและไม่อ้วน เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างแม่-ลูก เกิดความรัก ความผูกพัน
ลดอาการตกเลือดหลังคลอด จากการที่มดลูกมีการหดรัดตัวดี
ช่วยในการคุมกำเนิดระยะหลังคลอด ทำให้ประจำเดือนมาช้ากว่าในมารดาที่ไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ประโยชน์ต่อลูก
ลดการเกิดอาการท้องเสีย, โรคปอดอักเสบของทารกแรกเกิด, ป้องกันการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และหนอนพยาธิของเด็กทารกได้ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วน โรคมะเร็ง และโรคเบาหวาน
วิธีปฏิบัติ
ขณะให้นมทารก
ได้ยินเสียงกลืน
พูดคุยสบตา
เอาหัวนมเข้าปากทารกนิ้วเขี่ยปากทารกมือจับเต้า
ดูดจนอิ่ม สลับสองเต้า ข้างละ 3-5 นาที เพิ่มทีละ 5 นาที
กระตุ้นทุก 2-3 hr.
อิ่มกดคางดึงเต้า
หลังให้นมทารก
ไม่ต้องให้น้ำนมแม่มีน้ำ 87%
หัวนมแห้งก่อนใส่ยกทรง
นอนคว่าตะแคงขวาป้องกันการสำลัก
มารดาดื่มน้ำ น้ำผลไม้อย่างน้อย 1 แก้ว
อิ่มแล้วไล่ลม
ไม่บีบนมที่ทารกกินไม่หมดทิ้ง
ก่อนให้นมทารก
นั่งควรนั่งตัวตรงสุขสบายท่านอนควรนอนตะแคงศีรษะหนุนหมอนสูงอุ้มทารกเข้าข้างตัวมารดา
คางซิดเต้าท้องซิดท้อง
ล้างมือด้วยสบู่
การกระตุ้นเพื่อช่วยในการหลั่งน้ำนม Assisting the milk ejection reflex
การลูบ (Stroke)
การเขย่า (Shake)
การนวด (Massage)
การรับย้ายมารดาหลังคลอด
ประเมินสภาพมารดดาหลังคลอด
การตรวจกระเพาะปัสสาวะ (Bladder)
ประเมินการคั่งของปัสสาวะ24 ชม. หลังคลอด
การตรวจเลือดและน้ำคาวปลา (Bladder & Lochia)
Lochia rubra พบ 1-3 วันหลังคลอดสีแดงเข้มเมือกปนไม่เป็นลิ่ม
Lochia serosa พบ 4-9 วันหลังคลอดสีแดงจางคล้ายน้ำล้างเนื้อ
Lochia alba พบหลังวันที่ 10 หลังคลอดสีเหลืองอ่อนหรือสีขาว
การตรวจหน้าท้องและมดลูก (Bely and fundus)
ระดับยอดมดลูก
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
เอียงขวาถ้า bladder full
วัดหลัง 12 hr. ก่อนวัดให้มารดาปัสสาวะก่อน
การตรวจฝีเย็บบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและทวารหนัก
แนวทางการดูแลฝีเย็บและการบรรเทาอาการปวด
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ให้ถูกวิธี ซับให้แห้งทุกครั้งหลังขับถ่าย
ปวดมากควรประเมินการมีเลือดคั่งหรือการติดเชื้อของแผลฝีเย็บ
ประเมินแผลฝีเย็บตามหลัก REEDA
R (redness; erythema)
E (Edema)
E (Ecchymosis)
D (drainage, discharge)
A (Approximation)
การตรวจเต้านมและการหลังนานม (Breast and lactation)
หัวนมบุ๋ม หัวนมแตก แยก เจ็บ เต้านมร้อนบวม คัดตึง
การประเมินภาวะด้านจิตสังคม
Taking-in phase
พึ่งพาผู้อื่นและมุ่งเน้นตนเองของมารดาหลังคลอดช่วยเหลือ / กระตุ้นการทำกิจวัตรประจำวันให้ข้อมูลถึงความจำเป็นในการทำกิจวัตรต่างๆรวมทั้งการกระตุ้นให้มีการสำรวจทารก
การซักประวัติข้อมูลความเชื่อมารดาหลังคลอดและครอบครัว (Belief model)
ให้คำแนะนำที่ถูกต้อง
ประเมินความเชื่อของการปฏิบัติตัวหลังคลอด
1.Body temperature & Blood pressure
BP: q 15 min 4 ครั้ง, q 30 min 2 ครั้ง
ความดันต่ำโดยไม่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนท่าอาจเกิดจากการเสียเลือด
SBP เพิ่ม> 30 mmHg., DBP เพิ่ม> 15+ ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
Temp. ปกติคือ 38 องศาลดลงปกติใน 24 hr.
ชีพจรเต้นช้าลง
เกิน 100 bpm อาจติดเชื้อหรือตกเลือด
การซักประวัติข้อมูลส่วนบุคคล
ข้อมูลการฝากครรภ์
ข้อมูลการคลอด
ข้อมูลส่วนบุคคล
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ประเมินสภาพอารมณ์ (Emotional status) ปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกในครอบครัวการอุ้มการโอบกอดและการผสานสายตากับทารกสีหน้าท่าทางอาการไม่สุขสบาย
การตรวจลักษณะทั่วไปภาวะซีด (Body Condition)
ความอ่อนเพลีย
Trombophlebias & tromboembolic disease
น่องบวม ร้อน เจ็บ หนักขา
Human's sign position
ภาวะชัก
การประเมินการทำงานของลำไส้
ประเมิน Bowels Sound
การประเมินอาการท้องผูกและการดูแลเรื่องการขับถ่ายพบในระยะ 2-3 วัน
2.การดูแลมารดาหลังคลอดประจำวัน 24 ชม. หลังหลอด
การประเมินการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพหลังคลอด
แผลฝีเย็บ
ควรประเมินอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
จัดท่านอนตะแคงและงอเข่าบนเข้าหาลำตัวประเมินฝีเย็บรูทวารและริดสีดวงทวารสังเกตอาการบวมช้ำมีก้อนเลือดมีสิ่งคัดหลั่งผิดปกติเกิดแผลแยก
หากมีอาการปวดบริเวณฝีเย็บประเมินพบ hematoma ประคบเย็นเพื่อบรรเทาอาการปวดบวม
ประเมินแผลฝีเย็บ
R = redness (erythema) ประเมินลักษณะสีผิวบริเวณแผลมีสีแดงเกิดขึ้นหรือไม่
E = edema แผลมีการบวมหรือไม่
E = ecchymosis มีก้อนเลือดคั่งใต้ผิวหนังหรือไม่
D = drainage, discharge สารคัดหลั่งจากบาดแผลมีลักษณะอย่างไร
A = approximation ขอบแผลชิดติดกันดีหรือไม่
การขับถ่าย
กระตุ้นการปัสสวาวะหลังคลอด
กระตุ้นการขับถ่ายปัสสาวะ
น้ำคาวปลา
ประเมินลักษณะสีปริมาณกลิ่นเพื่อประเมินภาวะตกเลือดหลังคลอด
ปริมาณปานกลาง หมายถึงเปื้อนผ้าอนามัยประมาณ 4-6 นิ้วหรือประมาณ 25-50 มิลลิลิตร
ปริมาณน้อย หมายถึงเปื้อนผ้าอนามัยประมาณ 4 นิ้วหรือประมาณ 10-25 มิลลิลิตร
ปริมาณเล็กน้อย หมายถึงเปื้อนผ้าอนามัยประมาณ 1-2 นิ้วหรือประมาณ 10 มิลลิลิตร
ปริมาณมาก หมายถึงเปื้อนผ้าอนามัยเต็ม 1 ผืนภายใน 1 ชั่วโมงซึ่งเป็นสัญญาณของการตกเลือดหลังคลอด
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น
After pains
แนวทางการดูแล
จัดท่าในท่านอนคว่ำจะช่วยลดอาการปวด
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหว ลุกเดินเพื่อช่วยขับน้ำคาวปลาและกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวดีขึ้น
อธิบายให้มารดาทราบถึงสาเหตุของอาการปวด
ริดสีดวงทวาร
แนวทางการดูแล
ในรายที่เป็นไม่มากให้แช่กันในน้ำอุ่นเพื่อบรรเทาอาการ
แนะนำให้มารดารับประทานอากานที่มีกากใยเช่นผักผลไม้และอาหารที่ย่อยง่ายดื่มน้ำวันละ 8-12 แก้วและมีการเคลื่อนไหวร่างกายลุกเดินหลังคลอดเพื่อกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้ป้องกันอาการท้องผูก
เจ็บแผลฝีเย็บ
ประเมิน REEDA
แนวทางการดูแล
หากมีอาการปวดมากควรประเมินการมีเลือดคั่งหรือการติดเชื้อของแผลฝีเย็บ
ในระยะ 24 ชั่วโมงหลังคลอดให้ใช้การประคบเย็นช่วยบรรเทาอาการปวดและหลังระยะหลัง 24 ชั่วโมงใช้การประคบอุ่นหรือการแช่ก้นในน้ำอุ่น
แนะนำให้มารดาทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้ถูกวิธีและซับให้แห้งทุกครั้งหลังการขับถ่าย
การดูแล Reactionary fever จากการสูญเสียน้ำในร่างกายในระยะคลอด
ดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลเช็ดเหงื่อไคลและวามสะอาดของร่างกาย
อธิบายให้มารดาและครอบครัวเข้าใจถึงสาเหตุของใช้ในระยะ 24 ซมมีหลังคลอด
กระตุ้นให้ดื่มน้ำวันละ 2000-3000 มิลลิลิตร
ท้องผูก
แนวทางการดูแล
แนะนำไม่ให้มารดากลั้นอุจจาระและรับประทานอากานที่มีกากใยเช่นผักผลไม้และอาหารที่ย่อยง่ายดื่มน้ำวันละ 8-12 แก้วและมีการเคลื่อนไหวร่างกายลุกเดินหลังคลอดเพื่อกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้
ปัสสาวะลำบาก
แนวทางการดูแล
กระตุ้นให้มารดาปัสสาวะหากปัสสาวะเองไม่ได้ให้ intermitent catheter
การหดรัดตัวของมดลูก
การวัดระดับยอดมดลูกเพื่อประเมินการเข้าอู่ของมดลูก
ให้มารดาปัสสาวะก่อน
ทำการวัดในท่านอนหงายชันเข่าเล็กน้อยผู้ตรวจคลำหายอดมดลูกปกติมดลูกหลังคลอดทันทีจะอยู่ต่ำกว่าสะดือเล็กน้อยและเอียงมาทางด้าขวาเล็กน้อยประมาณ 6-12 ชมจะเลื่อนมาอยู่ตรงกลางหากมดลูกลอยสูงและนิ่มอาจมีเศษรกค้างในโพรงมดลูกหรือการมีกระเพาะปัสสาวะโป่งตึงขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
7.การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
Letting-go phase
เป็นระยะที่มารดาสามารถยอมรับและปรับบทบาท
การดูแล
สมาชิกในครอบครัวควรเข้ามามีบทบาทในการช่วยมารดาดูแลบุตรดูแลงานบ้านเพื่อช่วยลดความเหนื่อยล้าของมารดาซึ่งอาจทำให้เกิดความเครียดได้
Taking-hold phase
พบได้ในระยะ 2-3 วันหลังคลอดเป็นระยะที่มารดาเริ่มปรับตัวเข้ากับบทบาทใหม่
การดูแล
สนับสนุนให้กำลังใจมารดาการให้ความรู้สอนทักษะในการดูแลตนเองและบุตรเปิดโอกาสให้มารดาได้ดูแลบุตรด้วยตนเองและกล่าวชมเชยให้กำลังใจ
เต้านมและการหลั่งน้ำนม
ประเมินเกี่ยวกับรูปร่างขนาดความสมมาตรก้อนอาการคัดตึงการมีผื่นหรือสีผิวผิดปกติประเมินลักษณะหัวนมที่ผิดปกติและประเมินหัวนมแตก
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคม
ระยะที่ 2 Taking-hold phase กระตือรือร้นสนใจดูแลตนเองสนับสนุนให้กำลังใจมารดาการให้ความรู้สอนทักษะในการดูแลตนเองและบุตรเปิดโอกาสให้มารดาได้ดูแลบุตรด้วยตนเองและกล่าวชมเชยให้กำลังใจ
ระยะที่ 3 Letting-go phase พึ่งตนเองสมาชิกในครอบครัวควรเข้ามามีบทบาทในการช่วยมารดาดูแลบุตรดูแลงานบ้านเพื่อช่วยลดความเหนื่อยล้าของมารดาซึ่งอาจทำให้เกิดความเครียดได้
ระยะที่ 1 Taking in phase ระยะพึ่งพาซึ่งช่วยตนเองได้ แต่อ่อนเพลียซึ่งต้องการความช่วยเหลือ
นางสาว โยธกา ใช่ประพันธ์กูล รหัสนักศึกษา 180101076 พยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3